เต่ เต๋ : น.พ.ประสิทธิ์ โกยศิริพงศ์
เขียนโดย น.พ.ประสิทธิ์ โกยศิริพงศ์   
เสาร์, 18 สิงหาคม 2012
(จีนกลางอ่านว่าฉวนเซี้ยงจิ่วเหลา)ป้ายชื่อร้านที่ติดบนอาคารด้านซ้ายมือในภาพ..ฮกเกี้ยนออกเสียงว่าจ่วนเฮี้ยงจิ๊วเหลา..คนภูเก็ตเรียกสั้นๆว่าร้าน"จ่วนเฮี้ยง"..หรือบางคนเรียกว่า"เต่หลาว"...ในอดีต60-70ปีขึ้นไป...ร้านนี้เป็นร้านอาหารชื่อด...
ังของเกาะภูเก็ต...ผมเองไม่เคยทานหรอก..ถึงเคยก็อาจจำไม่ได้แล้ว..มี2คูหา..2ชั้น...ฟังมาว่ามีทั้งหมูย่างที่เราเรียกว่า"ช้าเซ้ว"...ขนมจีบซาลาเปาที่เราเรียกแบบภูเก็ตว่า"เตี๊ยมซิ้ม"หรอคนกรุงเทพเรียกเตะเตี้ยม..หรือที่เรียกปัจจุบันว่า"ติมซำ...และยังมีขนมเปี๊ย(ขนมเปี๊ยะ)อร่อย..ต่าวซ้อ..และอื่นอีกสารพัด..ร้านนี้เป็นร้านต้นกำเหนิดขชองร้าน"บุญรัตน์"..ร้าน"จ่วนเฮี้ยง"ในปัจจุบัน..
......ภาพนี้เป็นถนนเยาวราชยืนถ่ายจากวงเวียนน้ำพุไปยังสี่แยกที่ตัดกับถนนถลาง...ทางแยกทางชวามือก็คือถนนพังงา...
......คำว่าเต่เหลา..เต๋แปลว่าน้ำชา..เหลาแปลว่าภัตตาคาร..รวมแล้วก็แปลว่าร้านอาหาร..ในภูเก็ตเวลาเราเรียกเต่เหลาก็ให้รู้ว่าคือร้านนี้...เป็นการแสดงให้เรารู้ได้เลยว่าร้านนี้ในอดีตเป็นที่นิยมอย่างมาก...
......เราจะเห็นชีวิตที่แสนสมถะของคนในยุคนั้น..รถยนต์น้อยมากจนแทบไม่มีเลย..2ข้างถนนมีคนวางของขาย..จำได้ว่าสมัยนั้นคนนิยมสวมหมวก..แต่ภาพนี้คงก่อนผมเกิดตั้งนาน..อาคารหัวมุมถนนพังงาด้านไกล..เดี๋ยวนี้ถูกทุบทิ้งและสร้างแบบอื่นไปแล้ว...จุ๊ยก๊าว(คูน้ำ)เป็นแบบไม่มีฝา..ปากคูกว้างแต่ก้นคูแคบกว่าราวครึ่งเดียวของปากคู..จากคูน้ำมีคูลอดใต้พื้นบ้านไปโผ่ตรง"ฉิ่มแจ้"มีขนาดใหญ่พอให้เด็กอายุต่ำกว่า10ขวบลอกเข้าไปได้อย่างสบาย..คูที่เชื่อมระหว่างฉิ่มแจ้กับคูน้ำข้างถนน(อยู่ใต้พื้นบ้าน)เขาเรียกตำฮกเกี้ยนว่า"อ่างค้าง"....
.......เพื่อนๆลองเทียบดูนะว่าร้านจ่วนเฮี้ยงจิ่วเหลานี้อยู่ตรงกับตึกอะไรในปัจจุบัน...
.......ภาพนี้ผมจะนำมาบรรยายในเรื่องอื่นอีกในคราวต่อไป....
..........ยิ่งเขียนก็ยิ่งคิดถึงอดีตอย่างมากครับ..สุดบรรยายจริงๆ..
See More
Photo: ......泉香酒楼(จีนกลางอ่านว่าฉวนเซี้ยงจิ่วเหลา)ป้ายชื่อร้านที่ติดบนอาคารด้านซ้ายมือในภาพ..ฮกเกี้ยนออกเสียงว่าจ่วนเฮี้ยงจิ๊วเหลา..คนภูเก็ตเรียกสั้นๆว่าร้าน"จ่วนเฮี้ยง"..หรือบางคนเรียกว่า"เต่หลาว"...ในอดีต60-70ปีขึ้นไป...ร้านนี้เป็นร้านอาหารชื่อดังของเกาะภูเก็ต...ผมเองไม่เคยทานหรอก..ถึงเคยก็อาจจำไม่ได้แล้ว..มี2คูหา..2ชั้น...ฟังมาว่ามีทั้งหมูย่างที่เราเรียกว่า"ช้าเซ้ว"...ขนมจีบซาลาเปาที่เราเรียกแบบภูเก็ตว่า"เตี๊ยมซิ้ม"หรอคนกรุงเทพเรียกเตะเตี้ยม..หรือที่เรียกปัจจุบันว่า"ติมซำ...และยังมีขนมเปี๊ย(ขนมเปี๊ยะ)อร่อย..ต่าวซ้อ..และอื่นอีกสารพัด..ร้านนี้เป็นร้านต้นกำเหนิดขชองร้าน"บุญรัตน์"..ร้าน"จ่วนเฮี้ยง"ในปัจจุบัน..  ......ภาพนี้เป็นถนนเยาวราชยืนถ่ายจากวงเวียนน้ำพุไปยังสี่แยกที่ตัดกับถนนถลาง...ทางแยกทางชวามือก็คือถนนพังงา...  ......คำว่าเต่เหลา..เต๋แปลว่าน้ำชา..เหลาแปลว่าภัตตาคาร..รวมแล้วก็แปลว่าร้านอาหาร..ในภูเก็ตเวลาเราเรียกเต่เหลาก็ให้รู้ว่าคือร้านนี้...เป็นการแสดงให้เรารู้ได้เลยว่าร้านนี้ในอดีตเป็นที่นิยมอย่างมาก...  ......เราจะเห็นชีวิตที่แสนสมถะของคนในยุคนั้น..รถยนต์น้อยมากจนแทบไม่มีเลย..2ข้างถนนมีคนวางของขาย..จำได้ว่าสมัยนั้นคนนิยมสวมหมวก..แต่ภาพนี้คงก่อนผมเกิดตั้งนาน..อาคารหัวมุมถนนพังงาด้านไกล..เดี๋ยวนี้ถูกทุบทิ้งและสร้างแบบอื่นไปแล้ว...จุ๊ยก๊าว(คูน้ำ)เป็นแบบไม่มีฝา..ปากคูกว้างแต่ก้นคูแคบกว่าราวครึ่งเดียวของปากคู..จากคูน้ำมีคูลอดใต้พื้นบ้านไปโผ่ตรง"ฉิ่มแจ้"มีขนาดใหญ่พอให้เด็กอายุต่ำกว่า10ขวบลอกเข้าไปได้อย่างสบาย..คูที่เชื่อมระหว่างฉิ่มแจ้กับคูน้ำข้างถนน(อยู่ใต้พื้นบ้าน)เขาเรียกตำฮกเกี้ยนว่า"อ่างค้าง"....  .......เพื่อนๆลองเทียบดูนะว่าร้านจ่วนเฮี้ยงจิ่วเหลานี้อยู่ตรงกับตึกอะไรในปัจจุบัน...  .......ภาพนี้ผมจะนำมาบรรยายในเรื่องอื่นอีกในคราวต่อไป....  ..........ยิ่งเขียนก็ยิ่งคิดถึงอดีตอย่างมากครับ..สุดบรรยายจริงๆ..

***

วัฒนธรรม2วัฒน์ ภาษาสื่อสาร