Skip to content

Phuketdata

default color
Home
Phuket and Bodhgaya PDF พิมพ์ อีเมล์
เขียนโดย อรุณรัตน์ สรรเพ็ชร   
พฤหัสบดี, 28 เมษายน 2011

Ph.D. Synopsis

Archaeological remains  of Phuket and Bodhgaya :
A cultural study of India and Thailand

India and Thailand both the countries have a very close affinity and cultural relation from the distant past.  The emigration of Indian culture and civilization to the lands of Suvarnadipa, particularly in Siam began much before the arrival of Buddhism in Thailand. Right from sixth century B.C. and onwards there were frequent cultural exchange between India and Thailand, hence a large number of Indian epic remains had been traced to the different parts of Thailand. In course of time a lot of Vedic remains as well as Buddhist remains were found and explored at larger seale in Thailand in the past and the practicing the same religion even today reflects a deep Indian cultural impact over the Siam of modern Thailand is worthy to be studied the same in both the ways. As the legacy of Buddhism at Phuket in Thailand is one of the most vibrant example where a lot of Archaeological remains have been found around the Phuket the southern part of Thailand near Nakhonsrithammarat of Pre Christian era. Like taradih, Bodhgaya in India we have traced a lot of archaeological remains of Pre Christian era.  Found in course of excavation therein.  The Archaeological site Phuket of Thailand has yielded a lot of archaeological remains which have many similarities as the remains found from Bodhgaya Taradih in India. These similarities in findings of the two different archeological sites in two nation clearly reflects the cultural and political interactions of both the countries. We have a lot of literacy resources to enlight there affinity in both the cultural polarization but we a little resources archeological perspectives to study such cultural sites responding archeological findings unearths by the archaeologists of Thailand and India.
So far as the site Phuket in concerned i have to submit that this site was much popular owing to acceptance of first Theravada Buddhist school in Thailand during first second century B.C. and after short while Theravada Buddhism was replaced by Mahayana Buddhism which could not succeed for long. The excavation of Phuket recalls the same events after studding the remains unearthed from this holy archeological site. Not only that we have few more successive cultural findings in different stratifications entitles the history of the past Phuket like in Taradih, Bodhgaya we have at least five successive layer began from 6th cent. B.C. and onwards to the Gupta era. Mauryan and Kushan remains had been the focuss of the site associated with NBP ceramics to there sites. Therefore in many ways the archaeological remains from Phuket in Thailand and Indian site of Taradih, Bodhgaya have many resemblance in its nature and findings. In the light of above discoveries we are proposing. This project undertaken for Ph.D. in different chapters and sub chapters convenient for our study.

 

Chapter I   : Preface
Chapter II  : Introduction of the site
(a) Taradih
(b) Phuket
Chapter III  : Archeological Remains discovered from
(a) Taradih,  Bodhgaya
(b) Phuket near Nakhonsrithammarat
Chapter IV  : Cultural study of both the sites in the light of archaeological finaings
Chapter V  : - Ceramics,  Artpicces and other objects from both the sites – Phuket – Taradih
Chapter VI  : - Taradih and Phuket as the site of heritage historical study
Chapter VII  : - Conclusion and illustration
  Biblography.

Supervisor’s note & Signature

(Dr.A.Q.Ansari)

 

Res. Scholar

(Miss.Arunrat  Sunphet)

Wat Thai,  Bodhgaya

 

 

เค้าโครงวิทยานิพนธ์
ของ
นางสาวอรุณรัตน์  สรรเพ็ชร

ชื่อเรื่อง ร่องรอยทางโบราณคดีระหว่างภูเก็ตและพุทธคยา : วัฒนธรรมศึกษาอินเดียและไทย

   อินเดียและประเทศไทยต่างมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดทางวัฒนธรรมมาช้านาน การเลื่อนไหลทางวัฒนธรรมและอารยธรรมอินเดียที่เข้าสู่ประเทศไทยตั้งแต่สมัยสุวรรณภูมิ สำหรับประเทศไทยแล้วมีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ ๖ โดยการเข้ามาของพระพุทธศาสนา การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างอินเดียและไทย โดยเฉพาะอิทธิพลของมหากาพย์รามายณะและมหาภารตะ คัมภีร์วีตะ (คัมภีร์พระเวท) และร่องรอยหลักฐานหลักฐานทางพระพุทธศาสนา ทำให้วัฒนธรรอินเดียมีอิทธิพลวัฒธรรมอย่างลึกซึ้งจนถึงปัจจุบัน


   มรดกทางวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาในภูเก็ตน่าจะมีหลักฐานทางโบราณคดีที่พบในภูเก็ตและบริเวณโดยรอบในแถบภาคใต้  เพราะภูเก็ตมีอาณาบริเวณที่ใกล้ชิดเมืองนครศรีธรรมราชตั้งแต่ก่อนคริสต์ศักราช พุทธคยาในอินเดีย จากการขุดค้นทางโบราณคดีได้พบร่องรอยทางโบราณคดีตั้งแต่ยุคก่อนคริสตศักราช  ที่ตั้งของจังหวัดภูเก็ตน่าจะมีการพบหลักฐานทางโบราณคดีที่คล้ายคลึงกับที่พบที่พุทธคยา  การค้นพบหลักฐานทางโบราณทั้งที่เหมือนและแตกต่างของทั้งสองชาติ  สิ่งที่พบน่าจะมีผลต่อวัฒนธรรม การเมืองของทั้งสองประเทศ  นอกจากนี้วรรณคดีที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ที่สามารถนำมาจุดแสงสว่างให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมของสองประเทศ

   การทำวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเพียงในวงแคบ เพื่อศึกษาอิทธิพลทางวัฒนธรรมและความเกี่ยวข้องกันของหลักฐานทางโบราณคดีที่ค้นพบระหว่างไทย - อินเดีย ภูเก็ต - พุทธคยา


   การที่ข้าพเจ้าได้นำเรื่องนี้มาเป็นข้อศึกษาเพราะเป็นหัวข้อที่น่าสนใจ  การศึกษาพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในประเทศไทยตั้งแต่พ.ศ........ และหลังจากนั้นไม่นานนิกายมหายานได้เข้ามาแทนที่ แต่ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร  การขุดค้นทางโบราณคดีตามสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ ทำให้เราได้พบหลักฐาน  ซึ่งสามารถแบ่งแยกหลักฐานในแต่ละสมัยในประวัติศาสตร์ที่คล้ายคลึงกับพุทธคยา  ไม่ว่าจะเป็นหลักฐานที่ปรากฏในศตวรรษที่ ๖ เช่น สมัยคุปตะ เมาริยะ และกุสานะ หลักฐานเหล่านี้ล้วนเชื่อมโยงกันได้


   อย่างไรก็ตาม จากการเสนอข้อมูลข้างต้น  เป็นแนวทางในการศึกษาเชื่อมโยงทั้งทางด้านภูมิประเทศ และหลักฐานอื่น ๆ ล้วนเป็นสิ่งที่จุดประกายให้เกิดแนวคิดในการศึกษาหัวข้อหลักฐาน (ร่องรอย) ทางโบราณคดีระหว่างภูเก็ต ซึ่งเป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศไทยและพุทธคยาในประเทศอินเดีย


   การศึกษาครั้งนี้ได้แบ่งการศึกษาออกเป็นบท ๆ และรายละเอียดปลีกย่อยในแต่ละบท ดังนี้


บทที่ ๑  เกริ่นนำ
บทที่ ๒  บทนำเกี่ยวกับพุทธคยาและภูเก็ต
บทที่ ๓  หลักฐานทางโบราณคดีที่ค้นพบจากพุทธคยาและภูเก็ต
บทที่ ๔  วัฒนธรรมศึกษาระหว่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่พบของภูเก็ต และพุทธคยา
บทที่ ๕  เครื่องปั้นดินเผา  งานทางศิลปะ (ฏิกร พระพุทธรูปสารพัดปาง สถาปัตยกรรม)และอื่น ๆ ที่พบ
บทที่ ๖  บทสรุป

อรุณรัตน์ สรรเพ็ชร นิสิต กับ Dr.A.Q.Ansari ที่ปรึกษา

 

Archaeological remains of Phuket and Bodhgaya

: A cultural study of India and Thailand 

 

(1)   (2)   (3)  (4)   (5)   (6)

***

หมายเหตุภูเก็จ

มนุษยศาสตร์ ประวัติศาสตร์

Bothi Gaya โพธิคยา

แก้ไขล่าสุดเมื่อ ( พุธ, 28 ธันวาคม 2011 )
 
< ก่อนหน้า   ถัดไป >

สมุดภาพเหมืองแร่

Polls

ชื่อใด (หรือคำใด) สื่อได้ชัดคม รู้เป้าหมายได้มากกว่า
 

Who's Online

Counter

mod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_counter
mod_vvisit_counterวันนี้1058
mod_vvisit_counterเมื่อวาน1779
mod_vvisit_counterทั้งหมด10693470