Skip to content

Phuketdata

default color
Home arrow News arrow มนุษยศาสตร์ arrow สภาวัฒนธรรมตำบลสาคู
สภาวัฒนธรรมตำบลสาคู PDF พิมพ์ อีเมล์
เขียนโดย ปาณิศรา ชูผล มทศ.   
อาทิตย์, 16 มกราคม 2011

 

 

 

ประกาศสภาวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต
เรื่อง  แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารสภาวัฒนธรรมตำบลสาคู อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

  ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๖๖ กำหนดให้บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ย่อมมีสิทธิอนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นและของชาติ
เพื่อเป็นการสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานวัฒนธรรมของภาคประชาชนและชุมชนท้องถิ่น โดยการประสานเชื่อมโยงการดำเนินงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้สามารถรองรับกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและสังคมโลก เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ทางวัฒนธรรมในลักษณะของเครือข่ายการดำเนินงานที่มีพลัง เป็นองค์รวมและมีการบูรณาการอันจะนำไปสู่การพัฒนาที่มีความสมดุลยั่งยืน โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ของท้องถิ่นเป็นสำคัญ จึงอาศัยอำนาจตามระเบียบกระทรวงวัฒนธรรมว่าด้วยสภาวัฒนธรรม พ.ศ.๒๕๕๑ ข้อ ๒๑ วรรคสอง ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารสภาวัฒนธรรมตำบลสาคู อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต
ประกอบด้วยบุคคลดังต่อไปนี้
  องค์ประกอบ
  ๑. เจ้าอาวาสวัดในเขตตำบลสาคู     ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๒. ผู้นำศาสนาอิสลามในเขตตำบลสาคู    ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
๓. ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต    ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๔. นายอำเภอถลาง      ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๕. หัวหน้าส่วนราชการในตำบลสาคู    ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๖. นายกองค์การบริหารส่วนตำบลสาคู    ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๗. สมาชิกสภาองค์การบริหารจังหวัดภูเก็ต    ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๘. สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลสาคู   ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๙. หัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติถลาง    ที่ปรึกษาคณะกรรมการ 
  ๑๐. กำนันตำบลสาคู      ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๑๑. ผู้ใหญ่บ้านในเขตตำบลสาคู     ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๑๒. นายสาคร  จำปาทอง      ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๑๓. นายแดง  หล้าวหล้าง      ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๑๔. นายเปีย  ชายดำ      ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
 
  ๑๕. นางสงัด  ปัญญาไวย      ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๑๖. นางบุญรอด  สุขประสิทธิ์     ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๑๗. นายสงัด  ครุฑแก้ว      ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๑๘. นายถวิล  ตามชู      ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๑๙. นายสบาย  กิ่งรักษ์      ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๒๐. นางเปรมฤดี  ณ นคร     ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๒๑. นางเจิมศรี  วาจาสัตย์     ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๒๒. ว่าที่ ร.ต.ไตรบัญญัติ  จริยะเลอพงษ์    ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๒๓. ประธานสภาวัฒนธรรมอำเภอถลาง    ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๒๔. ปลัดอำเภอผู้รับผิดชอบประจำตำบลสาคู   ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๒๕. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลสาคู    ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๒๖. นักวิชาการสาธารณสุขผู้รับผิดชอบประจำตำบลสาคู  ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๒๗. นักวิชาการวัฒนธรรมผู้ประสานงานอำเภอถลาง  ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
  ๒๘. นายสุรพงษ์  ปัญญาไวย     ประธานคณะกรรมการ
  ๒๙. นายปราโมทย์  จงสุข     รองประธานคณะกรรมการ
  ๓๐. นางกัลยา  ประทีป ณ ถลาง     รองประธานคณะกรรมการ
  ๓๑. นางสาวพะยอม  รอดโรจน์     ประชาสัมพันธ์
  ๓๒. นางธารชนก  เพ็ชรไทย     ผู้ช่วยประชาสัมพันธ์
  ๓๓. นางจินดาภรณ์  จำปาทอง     ผู้ช่วยประชาสัมพันธ์
  ๓๔. นางสาวกัลยา  ตนคลัง     นายทะเบียน
  ๓๕. นางยุวดี  เดชากุล      ผู้ช่วยนายทะเบียน
  ๓๖. นายปฐมพร  ศรีรอดบาง     ผู้ช่วยนายทะเบียน
  ๓๗. นางวันลาภ  ปัญญาไวย     เหรัญญิก
  ๓๘. นางบุญพา  จันทรึก      ผู้ช่วยเหรัญญิก
  ๓๙. นายคารม  สมบัติ      คณะกรรมการ
  ๔๐. นายอุดม  สมบัติ      คณะกรรมการ
  ๔๑. นางสมทรง  อักษรสวัสดิ์     คณะกรรมการ
  ๔๒. นายกฤษณะพล  สว่างจิตร์     คณะกรรมการ
  ๔๓. นายวิโรจน์  บุญแก้ว      คณะกรรมการ
  ๔๔. นายถาวร  จุ๋ยเริก      คณะกรรมการ
  ๔๕. นายเหตุ  ใบลาภ      คณะกรรมการ
  ๔๖. นางไหม  ชาตรี      คณะกรรมการ
  ๔๗. นางพูนทรัพย์  เฉลิมวัย     คณะกรรมการ

  ๔๘. นางประพิน  สมพงษ์มิตร     คณะกรรมการ
  ๔๙. นางปรีญานุช  เพชรไทย     คณะกรรมการ
  ๕๐. นางสาวเบญจวรรณ  ชูภักดิ์     คณะกรรมการ
  ๕๑. นายเอกธรรม  จันทร์สุข     คณะกรรมการ
  ๕๒. นางนงลักษณ์  เผ่าจำรูญ     คณะกรรมการ
  ๕๓. นางอิงอร  ส่องแสง      คณะกรรมการ
  ๕๔. นางบุญชื่น  กำลังเกื้อ     คณะกรรมการ
  ๕๕. นางวรรณกิจ  มณีรัตน์     เลขาธิการ
  ๕๖. นายอภิบาล  รัตนมาศ     ผู้ช่วยเลขาธิการ
  บทบาทหน้าที่
  มีหน้าที่ในการส่งเสริมและประสานการดำเนินงานในเขตพี้นที่รับผิดชอบดังนี้
  ๑. เสนอข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะต่าง ๆ ประกอบการจัดทำแผนพัฒนาการดำเนินงานวัฒนธรรม และการติดตามประเมินผลการดำเนินงานวัฒนธรรม
  ๒. เป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และแนวคิดในการดำเนินงานวัฒนธรรม รวมทั้งเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายการดำเนินงานวัฒนธรรม
  ๓. ส่งเสริม สนับสนุนพัฒนาการดำเนินงานวัฒนธรรมร่วมกับองค์กรภาคีและเครือข่ายวัฒนธรรม
  ๔. ระดมทรัพยากร บุคลากร และสรรพกำลังต่าง ๆ จากหน่วยงานและองค์กร
  ๕. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมขององค์กรภาคและเครือข่ายวัฒนธรรมต่าง ๆ เพื่อการอนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา สร้างสรรค์ เผยแพร่ แลกเปลี่ยน สืบทอด
  ๖. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรม และผลการดำเนินงานขององค์กรภาคีและเครือข่ายวัฒนธรรมต่าง ๆ
  ๗. ดำเนินการอื่น ๆ ตามที่กระทรวงวัฒนธรรม จังหวัด อำเภอ หรือหน่วยงานอื่น ๆ ขอความร่วมมือ
  ๘. ปฏิบัติตามธรรมนูญหรือข้อบังคับของสภาวัฒนธรรม
  ๙. ปฏิบัติตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสภาวัฒนธรรมที่ไม่ขัดแย้งต่อคุณธรรม จริยธรรม และข้อกฎหมาย
  ๑๐. เฝ้าระวังทางวัฒนธรรม

  ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่  ๒  สิงหาคม  พ.ศ.๒๕๕๒

      ประกาศ  ณ  วันที่  ๙  พฤศจิกายน  พ.ศ.๒๕๕๒

 

                       (นายสุพจน์  สงวนกิตติพันธุ์)
                    ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต

 


  

  

  

 

 
< ก่อนหน้า   ถัดไป >

News

สมุดภาพเหมืองแร่

Counter

mod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_counter
mod_vvisit_counterวันนี้1477
mod_vvisit_counterเมื่อวาน1659
mod_vvisit_counterทั้งหมด10720736