Skip to content

Phuketdata

default color
Home arrow Search
กำแพงฮอลแลนด์ในภูเก็ต PDF พิมพ์ อีเมล์
เขียนโดย ปาณิศรา ชูผล มทศ.   
อาทิตย์, 27 กันยายน 2009

 

(มอ.ภูเก็จ ๒๓๐๗)
คฤหาสน์ชินประชา สร้าง พ.ศ.๒๔๔๗ 

มาดูกำแพงโบราณ   

อายุกว่าร้อยปีในภูเก็ต

vote  

ก่อนอื่นพามาชมตัวบ้านก่อนนะครับ(บ้านชินประชา)

     บ้านชินประชาสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2466 (ค.ศ.1903) หรือในปลายรัชสมัยรัชกาลที่ 5 โดยพระพิทักษ์ชินประชา (ตันม่าเสียง) บิดาของท่านคือ หลวงบำรุงจีนประเทศ (ตันเนียวยี่) เป็นชาวฮกเกี้ยนที่รับราชการทหารในประเทศจีน ต่อมาบิดาท่านได้เดินทางมายังประเทศไทยในปี พ.ศ. 2397  (ค.ศ. 1854) หรือในปลายรัชสมัยรัชกาลที่ 4 ได้ประกอบกิจการทำเหมืองแร่ดีบุกที่เกาะภูเก็ต และกิจการค้าขายที่เกาะปีนัง

 
 
 

จากคุณ: Numenor
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 09:49:34
ถูกใจ: หนุ่มรัตนะ, อ.ม.ภักดิราช, L'Oscar


 

 
 
 


      ความคิดเห็นที่ 1  

      พระพิทักษ์ชินประชา (ตันม่าเสียง) ผู้สร้างบ้านหลังนี้ ถือกำเนิดที่เกาะภูเก็ตในปี พ.ศ. 2426 (ค.ศ.1883) เมื่ออายุได้ 20 ปี ท่านได้สร้างบ้านหลังนี้ตามแบบ ชิโน-โปรตุกีส เป็นหลังแรกของจังหวัดภูเก็ต หรือที่เรียกว่า อังม่อเหลา

       
       
       

      จากคุณ: Numenor
      เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 09:50:25
        

       
       
 
ความคิดเห็นที่ 2  

ภายในบ้านครับ

 
 
 

จากคุณ: Numenor
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 09:51:08
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 3  

เอามาให้ชมอีกรูปครับ

 
 
 

จากคุณ: Numenor
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 09:51:37
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 4  

เค้าบอกว่าเป็นเตียงครับ นำเข้ามาจากเมืองจีน มีลิ้นชักเยอะมาก

 
 
 

จากคุณ: Numenor
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 09:52:32
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 5  

มาถึงกำแพงเก่าครับผมอายุกว่าร้อยปีแล้ว

 
 
 

จากคุณ: Numenor
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 09:53:21
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 6  

ลวดลายบนกำแพงสวยงามมากครับผม

 
 
 

จากคุณ: Numenor
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 09:53:49
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 7  

อีกรูปครับผม

 
 
 

จากคุณ: Numenor
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 09:56:27
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 8  

บันไดไม้ ขึ้นชั้น ๒ ด้านใน สีโอ๊คเข้ม สลักลวดลายเดินเส้นทองขอบแบบจีน

 
 
 

จากคุณ: Numenor
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 09:57:11
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 9  

มาถึงภาพสุดท้ายเป็นภาพล่าสุดของกำแพงที่กล่าวมาครับ  เหลือแค่นี้เอง

 
 

จากคุณ: Numenor
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 09:58:03
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 10  

แนวกำแพงเดิมหายไปถูกทดแทนด้วยโครงการบ้านครับ

 
 
 

จากคุณ: Numenor
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 09:59:13
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 11  

เห็นแล้วน่าใจหายจัง

 
 
 

จากคุณ: Numenor
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 10:00:42
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 12  

รั้วเดิมซึ่งวัสดุนำเข้าจากเนเธอร์แลนด์ ถือเป็นโบราณสถานเช่นเดียวกับตัวบ้านที่สร้างตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5  ครับผม

จากคุณ: Numenor
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 10:03:18
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 13  

ในบ้านท่านสวยมากนะครับ

ตอนเรียนอยู่ก็ไปบ่อย

แต่กลางคืนน่ากลัวชะมัด

แถมตรงข้่ามกัน ก็มักมีม้าทรง มาทรงตรงถนนบ่อย ๆ

จากคุณ: apextopia
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 10:07:16
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 14  

บรรยากาศภายในบ้านสวยมาเลยครับ บรรยากาศคลาสิกมากเลย

จากคุณ: หนุ่มรัตนะ
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 10:12:52
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 15  

โอ้ยตายเเล้ว เสียดายจังเลย ยกไปไหนกันคะ อย่าบอกนะว่าทุบทิ้ง

จากคุณ: mrs.night owl
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 10:51:25
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 16  

ภูเก็ตเจริญเร็วมาก โดยเฉพาะในช่วง 10 ปีหลังมานี้

คนที่เกิดทันข้ามแพฝั่งท่านุ่น ท่าฉัตรชัย คงไม่คิดว่าวันหนึ่งภูเก็ตจะไปไกล เจริญกว่าฝั่งพังงา ที่ต้องข้ามมาซื้อของเสียอีก

แต่ลองกลับไปดูที่พังงา  เมื่อร้อยปีก่อนเป็นอย่างไร ปัจจุบันก็แทบไม่เปลี่ยนแปลง ยกเว้นทางเขาหลัก ที่มีรีสอร์ทหรูผุดขึ้นมากมาย ก่อนซึนามิจะมาล้างหาด

ในภูเก็ตยังมีบ้านหลังเก่าอีกหลายหลัง ที่กำลังจะโดนทุบ บางหลังก็มีสภาพทรุดโทรมมาก จนทายาทคิดว่าขายดีกว่า เพราะไม่มีเงินไปดูแลรักษา ที่สำคัญบ้านนั้นขายแบบไม่มีมูลค่าด้วย เพราะขายที่ดิน  ในขณะที่ที่ดินในภูเก็ต ผมเคยคำนวนเล่นๆ จะซื้อที่ขนาดไหน จะต้องเอาแบ็งค์ 100 บาท ลองปูที่พื้นกันเลย ถ้าเข้ามาในเขตเมืองเก่า อาจจะต้องเอาแบ็งค์ 100 ซ้อนกัน 2 - 3 ใบด้วย

จากคุณ: NetStar
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 11:28:33
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 17  

เห็นด้วยกับ ค.ห.16 ครับ

จากคุณ: manopetchara
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 17:15:52
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 18  

สวยงามมากเลยขอรับ เสียดายกำแพงเสียจริงทุบทิ้งทำตึกแถวไปเสียแล้ว

ปล.พานคู่นั้นที่อยู่ใต้โต๊ะ จาก คห ที่ ๓ และ ๘ นั้นสัณฐานคล้ายกับ พานที่วัด อาตมาภาพเลย มีทั้งเล็กทั้งใหญ่สวยงามทีเดียว

จากคุณ: อ.ม.ภักดิราช
เขียนเมื่อ: 26 ก.ย. 52 19:47:13
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 19  
บ้านชินประชาสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๖ โดยพระพิทักษ์ชินประชา ต้นตระกูลตัณฑวณิช บ้านชินประชาเป็นสถาปัตยกรรมแบบชิโน โปรตุกิสหลังแรกของจังหวัดภูเก็ต การตกแต่งภายในบ้าน  เฟอร์นิเจอร์ส่วนใหญ่เป็นมรดกตกทอดจากบรรพบุรุษเมืองจีน เช่น โต๊ะไม้และตู้ไม้ฝังมุก เตียงนอน และมีเฟอร์นิเจอร์และวัสดุอีกส่วนหนึ่งที่สั่งมาจากต่างประเทศผ่านทางปีนัง เนื่องจากการค้าขายทางเรือผ่านเกาะปีนังมายังภูเก็ตในสมัย เช่น รั้วบ้านจากฮอลแลนด์ กระเบื้องปูพื้นจากอิตาลี  ต่อมาในสมัยของขุนชินสถานพิทักษ์ บ้านชินประชาได้ถูกแบ่งออกเป็นหลายส่วน เพื่อนำไปสร้างบ้านของลูกหลานในตระกูลตัณฑวณิช ทำให้มีรุปทรงที่เปลี่ยนไป แตกตากจากอังม่อเหลา หลังอื่นๆในภูเก็ต บ้านชินประชาเปิดให้เข้าชมครั้งแรกในสมัยของทายาทรุ่นที่ ๔ คือ คุณประชา ตัณฑวณิช( ปัจจุบันเสียชีวิตไปแล้ว) ปัจจุบันบ้านชินประชาดูแลโดย คุณจรูญรัตน์ ภรรยาของคุณประชา ตัณฑวณิช



ภาพถ่ายบ้านชินประชาในปีค.ศ.1920 ก่อนที่จะโดนตัดบางส่วนของตัวอาคารออกไป

แก้ไขเมื่อ 27 ก.ย. 52 04:43:24

 
 
 

จากคุณ: akkarachai
เขียนเมื่อ: 27 ก.ย. 52 04:41:06
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 20  

ดูอย่างชื่นชมความงาม
หักมุมตอนจบซะนี่
แต่โลกนี้ยากจะไม่เปลี่ยนแปลง

จากคุณ: Guga
เขียนเมื่อ: 27 ก.ย. 52 06:11:13
  

 
 
 
ความคิดเห็นที่ 21  

เมื่อปีที่แล้วไปทำรายงงาน

กระเบื้องปูพื้นทุกแผ่นสั่งมาจากอิตตาลีครับ

จากคุณ: L'Oscar
เขียนเมื่อ: 27 ก.ย. 52 11:59:54
  

 
 
 

[ต้องการแตกประเด็นจากกระทู้เดิมคลิกที่นี่][กติกามารยาท] [Help & FAQ] 
 
ความคิดเห็น :
   PANTIP Toys
จัดรูปแบบ :สีกรมท่าสีด่างทับทิมสีใบตองสีเขียวใต้ทะเลสีเขียวขี้ม้า จัดชิดซ้ายจัดกลางหน้าจัดชิดขวา
ไฟล์ประกอบ :
โพสไฟล์ประกอบวาดภาพประกอบโพสคลิปวิดีโอ  Help
ชื่อ :
  

 
 
 

ข้อความหรือรูปภาพที่ปรากฏในกระทู้ที่ท่านเห็นอยู่นี้ เกิดจากการตั้งกระทู้และถูกส่งขึ้นกระดานข่าวโดยอัตโนมัติจากบุคคลทั่วไป ซึ่ง PANTIP.COM มิได้มีส่วนร่วมรู้เห็น ตรวจสอบ หรือพิสูจน์ข้อเท็จจริงใดๆ ทั้งสิ้น หากท่านพบเห็นข้อความ หรือรูปภาพในกระทู้ที่ไม่เหมาะสม กรุณาแจ้งทีมงานทราบ เพื่อดำเนินการต่อไป

อ้างอิง

http://www.pantip.com/cafe/library/topic/K8364207/K8364207.html

 

แก้ไขล่าสุดเมื่อ ( พฤหัสบดี, 22 มีนาคม 2018 )
 
< ก่อนหน้า   ถัดไป >

สมุดภาพเหมืองแร่

Counter

mod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_counter
mod_vvisit_counterวันนี้1801
mod_vvisit_counterเมื่อวาน1238
mod_vvisit_counterทั้งหมด10733758