Skip to content

Phuketdata

default color
Home arrow Search
พระเจ้าตากไปไหน PDF พิมพ์ อีเมล์
เขียนโดย ปาณิศรา ชูผล มทศ.   
เสาร์, 08 กุมภาพันธ์ 2020

 

พระเจ้าตากไปไหน  

 


 

 


ไขปริศนา..เปิดผนึกบันทึกสยามพระเจ้าตากสินไปไหนเมื่อต้นราชวงค์จักรี  ** เนื้อหาในตอนนี้ในอยู่ในหนังสือรวมเล่ม แฉ ความลับ ตอน 3 เปิดผนึกบันทึกสยาม บทที่ 6 พร้อมภาพที่ท่านอาจไม่เคยเห็นมาก่อน เรียบร้อยแล้ว สามารถโหลดผ่าน ebook หรือเป็นเล่มจริงแบบ Print on demand ได้เลย ส่วนเล่มจริงจะส่งให้ผู้อยู่ฐานข้อมูลเดิมและผู้จองใหม่ได้วันที่ 25 ก.ย.58 นี้ ดูสารบัญคลิ๊กไปที่ https://t.co/KxhM77h8oO ราว พ.ศ.2318 ในครั้งนั้นมีข้าราชการที่สำคัญคือ อุปราชพัฒน์ มีฐานะเป็นหม่อมเจ้าในกรมหมื่นอินทรพิทักษ์ รัชกาลที่ 33 แห่งกรุงศรีอยุธยา เคยตามที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชออกทำสงคราม จนมีชัยชนะได้รับความชอบหลายครั้งเป็นที่โปรดปรานของสมเด็จพระเจ้าตากสินอย่างยิ่ง เมื่อคราภรรยา อุปราชพัฒน์ ถึงแก่อนิจกรรมนั้น สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงทราบว่าเจ้าอุปราชพัฒน์เป็นม่าย เกิดความสงสาร จึงพระราชทานพระสนมเอกปรางที่เป็นน้องสาวภริยาของ อุปราชพัฒน์ให้เป็นภริยาแทน พระองค์รับสั่งท้าวนางข้างในให้พาตัวพระสนมเอกปรางไปพระราชทานเจ้าอุปราชพัฒน์ ท้าวนางกระซิบทูลว่าดูเหมือนนางนั้นมีครรภ์อ่อน ๆ สองเดือนอยู่ พระเจ้ากรุงธนบุรีตรัสว่า “ได้ออกปากให้เขาแล้วก็พาไปเถิด” เนื่องจากกษัตริย์ตรัสแล้วไม่คืนคำ เรื่องจึงเลยตามเลย อุปราชพัฒน์ จึงทราบและคนทั้งหลายทั่วไปก็ทราบ แต่เป็นข้าของพระองค์จะไม่รับพระราชทานก็หาได้ไม่ จึงรับไว้โดยนำไปอยู่อย่างท่านผู้หญิงกิตติมศักดิ์ คือ อัญเชิญให้อยู่ในฐานะแม่เมือง วันที่ 27 สิงหาคม 2319 เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงปรางก็ได้ประสูติพระราชโอรส เจ้าพระยานครน้อย ณ เมืองนครศรีธรรมราชนั้น โดยทุกฝ่ายทั้งในและฝรั่งต่างประเทศก็นับรู้ว่าทารกน้อย ของเจ้าจอมมารดาปรางผู้นี้คือ พระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ด้วย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มีบิดาเป็นคนจีน และมารดาชาวสยามนามนกเอี้ยง มิได้ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่มาจากการสืบราชสมบัติจากกษัตริย์กรุงศรีอยุธยาองค์ก่อนจึงมิได้มีเงินในท้องพระคลัง ช่วงกอบกู้เอกราชไทยจากคราวกรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ 2 นั้น พระองค์ต้องใช้ทรัพย์จำนวนมากเกินกำลังที่มีอยู่ เพราะทรัพย์ของชาวสยามจำนวนมากพม่าปล้นสดมภ์ไปจนสิ้นจึงทรงกู้ยืมเงินมาจากทางจีน เพื่อใช้ในการกอบกู้เอกราชประกาศอิสรภาพจากพม่า และช่วงนั้นจีนกับพม่าทำศึกต่อกันอย่างหนัก หากไทยชนะศึกพม่าได้ จีนก็จะได้เปรียบในศึกระหว่างอาณาจักรนั้นด้วย เมื่อทรงปราบดาภิเษกขึ้นครองราชย์เป็น สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระองค์ทรงเห็นว่าสยาม เพิ่งจะประกาศอิสรภาพจากพม่าได้ไม่นาน บ้านเมืองก็ยังไม่สงบเรียบร้อย ยังมีสงครามติดพันกับพม่าอยู่ จำเป็นต้องใช้ทรัพย์อีกมาก เงินในท้องพระคลังเองก็เหลืออยู่ไม่มาก ทั้งทหารหาญของพระองค์เอง ก็ยังมิได้รับเบี้ยหวัดเงินเดือนเลย หากพระองค์ไม่ใช้หนี้ทางจีน ก็อาจจะอ้างเอาเป็นสาเหตุยกทัพมาตีไทยจนกลายเป็นศึก 2 ด้าน หากพ่ายแพ้ก็จะตกเมืองขึ้นได้ แต่หากพระองค์ทรงสละราชบัลลังก์ธรรมดา แล้วให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ขึ้นครองราชย์แทนทางจีนก็คงจะไม่ยอมเลิกราอยู่ดี แต่ถ้าหากพระองค์สิ้นพระชนม์ และ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ขึ้นครองราชย์แทน จะถือว่าเป็นการเปลี่ยนพระเจ้าแผ่นดินใหม่ ดังนั้นหนี้สินที่เกิดขึ้นจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ก็ไม่จำเป็นต้องรับผิดชอบชดใช้ สยามเราก็สามารถนำเงินในท้องพระคลังที่มีอยู่จำกัดไปใช้ประโยชน์เพื่อกอบกู้บ้านเมืองได้ อีกทั้งไม่ต้องเผชิญหน้ากับกองทัพจากจีน แม้ว่าจะต้องแลกกับความเสื่อมเสียพระเกียรติยศ และความเข้าใจผิดของลูกหลานไทยในภายหลังนานกว่า 200 ปีก็ตาม ในครานั้น สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงจึงมีกุศโลบายการลับเปลี่ยนแผ่นดินให้หนี้สินหมดลง กับ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ซึ่งสอง พระองค์เป็นพระสหายคู่พระทัยกัน โดย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จะทรงแผนแกล้งพระสติวิปลาส เพราะเครียดจากการสู้รบ และเคร่งครัดในธรรม จากนั้นจะสละราชบัลลังก์ และให้ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ขึ้นครองราชย์แทน และย้ายเมืองหลวงข้ามไปยังฝั่งกรุงเทพฯ ให้ดูแนบเนียน พ.ศ. 2324 ในช่วงนั้นบ้านเมืองยังไม่สงบนิ่ง ขุนนางบางคนคิดก่อการกบฏขึ้น ระหว่างการปราบปรามจลาจลที่เมืองเสียมราฐในเขมร สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (ทองด้วง) และ เจ้าพระยาสุรสีห์ (บุญมา) ทราบข่าวความไม่ปกติในกรุงธนบุรี จึงให้ พระยาสุริยอภัย ผู้เป็นหลานมาคอยฟังเหตุการณ์อยู่ที่เมืองนครราชสีมา ขุนแก้ว (น้องพระยาสรรค์) นายบุนนาค นายบ้านในเขตกรุงเก่า และขุนสุระ ทั้งสามได้คิดก่อการปฏิวัติขึ้นโดยรวบรวมกำลังพลจำนวนหนึ่งไปปล้น พระยาอินทรอภัย ผู้รักษากรุงเก่าฝ่ายเจ้าเมืองอยุธยา แต่หนีรอดมาได้เข้ากราบบังคบทูลต่อ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระองค์จึงบัญชาให้ พระยาสรรค์ ไปสืบสวนเอาตัวคนผิดมาลงโทษ โดยพระองค์แสร้งไม่ทรงทราบว่าหัวหน้ากบฏที่ก่อความวุ่นวาย คือ ขุนแก้ว น้องชายของพระยาสรรค์นั่นเอง ดังนั้น พระยาสรรค์ จึงแปรพักตร์อาศัยจังหวะไปเข้ากับพวกกบฎ กลายเป็นแม่ทัพยกมาตีกรุงธนบุรี วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2325 ทัพพระยาสรรค์ ได้เข้าล้อมกำแพงพระนครกรุงธนบุรี รบกับกองทัพซึ่งรักษาเมืองเกิดจลาจลขึ้นในกรุงธนบุรีทั้งคืน ครั้นรุ่งเช้า สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี บัญชาให้หยุดรบ แล้วพระองค์ไปนิมนต์พระสังฆราชพระวันรัต และพระรัตนมุนีเข้ามาแล้วให้ออกไปเจรจาความเมืองกับพระยาสรรค์ว่าทรงยอมแพ้ พระยาสรรค์ บังคับให้สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีพระองค์ผนวช ทรงยอมในวันรุ่งขึ้น ณ พระอุโบสถวัดแจ้ง ภายในพระราชวัง พระยาสรรค์จึงจัดพลทหารให้ไปตั้งล้อมพระอุโบสถวัดแจ้งไว้แน่นหนา เพื่อมิให้พระเจ้าแผ่นดินซึ่งบรรพชานั้นหนีไปได้ แล้วให้จับขุนอนุรักษ์สงคราม พระเจ้าหลานเธอ และวงศานุวงศ์ทั้งปวง มาจำไว้ในพระราชวังทั้งสิ้น แล้ว พระยาสรรค์ ก็ตั้งตนเป็นผู้สำเร็จราชการ พร้อมกับประกาศอ้างว่าจะถวายราชสมบัติให้ สมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึกปกครอง แต่แท้จริงนั้นเพื่อลดการต่อต้านจากขุนนางฝ่ายตรงข้าม จากนั้น พระยาสรรค์ ออกท้องพระโรงว่าราชการแผ่นดินให้ปล่อยนักโทษทั้งข้าราชการฝ่ายหน้า ฝ่ายใน และราษฎร ซึ่งอยู่ในเรือนจำนั้นออกจนสิ้น พวกนักโทษที่ออกมาก็ล้างแค้นพวกโจทก์เที่ยวไล่จับฆ่าฟันเสียเป็นอันมาก พวกโจทก์หนีไปเที่ยวซุ่มซ่อนอยู่ ณ วัดบ้าง บ้านบ้าง ทุกแห่งทุกตำบล ที่รอดเหลืออยู่นั้นน้อยที่ตายนั้นมาก เกิดฆ่าฟันจราจลบ้านป่าเมืองเถื่อนกันไปทุกแห่งทุกตำบลทั่วทั้งเมือง พระยาสรรค์ เอาเงินตราในท้องพระคลังออกซื้อเสียงแจกขุนนางข้าราชการทั้งฝ่ายหน้าฝ่ายใน และทหารเป็นอันมาก จนในขณะนั้นบรรดาขุนนางข้าราชการผู้ใหญ่ผู้น้อยทั้งปวงแตกออกเป็นสองพวก ที่ได้บำเหน็จรางวัลก็เข้าเป็นพวกพระยาสรรค์ ที่นับถือบุญญาบารมีสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ก็มิได้รับรางวัลของพระยาสรรค์ เมื่อเหตุการณ์ในราชวังควบคุมซื้อเสียงข้างมากได้แล้ว พระยาสรรค์ จึงคิดจะครองราชย์สมบัติออกว่าราชการตั้งตนเป็นพระเจ้าแผ่นดินองค์ใหม่ เตรียมกองกำลังไว้ต่อสู้กับสมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึก มีคนขึ้นไปแจ้งเหตุ พระยาสุริยอภัย ผู้ครองเมืองนครราชสีมา ผู้เป็นหลานได้ทราบว่าแผ่นดินธนบุรีเป็นจลาจล จึงเร่งเดินทางไปเมืองนครเสียมเรียบ กัมพูชา รายงานว่าแผ่นดินเกิดยุคเข็ญ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก จึงให้พระยาสุริยอภัย รีบยกกองทัพลงไปกรุงธนบุรีก่อน แล้วจะยกทัพใหญ่ตามลงไปช่วยภายหลัง พระยาสุริยอภัย รับคำสั่งแล้วจึงยกทัพจากเมืองนครราชสีมาเพื่อปราบกบฎ ดังนั้น พระยาสรรค์ ได้ปล่อยตัวกรมขุนอนุรักษ์สงคราม มาช่วยกันรบป้องกันพระนคร โดยเข้าโจมตีกองทัพ พระยาสุริยอภัย วันที่ 2-3 เมษายน พ.ศ. 2325 ทั้งสองฝ่ายได้ปะทะกันอย่างหนัก กรมขุนอนุรักษ์สงคราม เป็นฝ่ายพ่ายแพ้และถูกจับได้ พระยาสรรค์ ทำใจดีสู้เสือคิดว่าเรื่องที่ตนสั่งให้ กรมขุนอนุรักษ์สงคราม ยกทัพไปตีค่ายพระยาสุริยอภัย เป็นความลับจึงวางตัวนิ่งเฉยอยู่ในวัง ทำเป็นไม่รู้ไม่ชี้ แต่ พระยาสุริยอภัย รู้ความจริงทั้งหมดเพราะ กรมขุนอนุรักษ์สงคราม รับสารภาพ เมื่อควบคุมสถานการณ์ในวังหลวงเอาไว้ได้แล้วให้สึก สมเด็จพระเจ้าตากสิน รอให้ สมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึก กลับมาตัดสินความ วันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ก็ยกทัพกลับมาถึงกรุงธนบุรี พระองค์เรียกประชุมขุนนางและข้าราชการชั้นผู้ใหญ่สืบสวนเรื่องราวความวุ่นวายสงครามกลางเมืองที่เกิดขึ้น จับกุมผู้ก่อการกบฎมาลงโทษ รวมทั้งให้ข้าราชการปรึกษาพิจารณาความที่มีผู้ฟ้องร้องกล่าวโทษ ว่า สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงเป็นต้นเหตุ พร้อมกับสอบถามความเห็นเพื่อวางแผนฟื้นฟูบ้านเมือง พวกขุนนางฝ่าย พระยาสรรค์ ที่รับสินบนทูลฟ้องใส่ร้ายอ้างว่า สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงพระสติวิปลาสไปเพราะทรงสั่งให้ลงทัณฑ์พระ ที่ประชุมขุนนางเห็นความว่าควรจะสำเร็จโทษพระเจ้าตากสินเสีย เพื่อไม่ให้เป็นภัยต่อความมั่นคงของแผ่นดินต่อไป แต่ในความจริงแล้วเรื่องทั้งหมดเป็นไปตามแผนการที่ทั้งสองพระองค์ได้วางไว้ เพราะ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี นำนักโทษที่มาโกนหัวแล้วมาห่มผ้าเหลืองมิใช่พระสงฆ์จริงๆ และก่อนที่จะลงทัณฑ์ก็ได้ให้เอาผ้าเหลืองออกก่อน จึงมิได้เป็นการปรามาสพระรัตนตรัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างข่าวลือการเสียพระสติของพระองค์ออกไป เป็นกลลวงให้กลุ่มกบฏ พระยาสรรค์ ผู้ต้องการโค่นล้มพระองค์จากพระราชอำนาจเกิดความย่ามใจ และสำคัญผิด วันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 ขุนนาง ข้าราชการ และราษฎรได้พร้อมใจกันทูลเชิญ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ขณะมีพระชนมายุได้ 46 พรรษา ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชย์เป็น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์จักรีรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2325 ในเบื้องลึกในครั้งนั้น สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มิได้ถูก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สั่งประหารชีวิตด้วยท่อนจันท์จริงตามที่เคยทราบกัน แต่ผู้ที่ถูกจับใส่กระสอบคือ พระญาติทหารชื่อนายมั่น ที่มีความศรัทธาจงรักภักดีใน สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และมีลักษณะละม้ายคล้ายพระองค์ ยอมปลอมตัวสละชีพแทน และถูกทุบด้วยท่อนจันทร์ เพื่อให้เป็นไปตามแผนการที่ได้วางไว้ตบตาจีนเพื่อเปลี่ยนกษัตริย์ หลังจากนั้นพระยาสรรค์ ฝ่ายกบฏก็ถูกลงโทษประหารชีวิต พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 1 ทรงทราบเรื่อง เจ้าพระยานครน้อย พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กับเจ้าจอมมารดาปราง ที่บัดนี้เจริญวัย 6 พรรษา และจึงเห็นว่าเมืองนครศรีธรรมราชเหมาะสมและปลอดภัยที่สุดสำหรับพระองค์ จึงได้จัดเตรียมกองทหารคอยเฝ้าอารักขาติดตามส่งเสด็จ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ลงเรือสำเภาไปจนถึงนครศรีธรรมราชอย่างปลอดภัยโดยมิให้ผู้ใดล่วงรู้ พร้อมกับแต่งตั้งให้ อุปราชพัฒน์ ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็น เจ้าเมืองนครศรีธรรมราช (พัฒน์) เพื่อคอยปกปักรักษา สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และปกป้อง พระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระองค์ทรงผนวชเงียบๆ เป็นพระภิกษุสงฆ์ที่วัดเขาขุนพนม จังหวัดนครศรีธรรมราช และได้มรณภาพที่นี่ในราวปี พ.ศ. 2368 พระองค์ยังมีสุสานอยู่อีกแห่งอยู่ที่เมืองซัวเถา อำเภอเท่งไฮ้ ประเทศจีน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เคยเสด็จไปถวายบังคมเมื่อ พ.ศ.2540 และ ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ในหนังสือเรื่อง “คืนถิ่นจีนใหญ่” จึงขอพระราชทานพระราชนิพนธ์ถึงสุสานตอนหนึ่งว่า “สุสาน เหมือนกับหลุมศพฝรั่งธรรมดาไม่ได้ทำโค้งๆ แบบฮองซุ้ยจีนที่เคยเห็นที่อื่น มีป้ายหินแกรนิตสีชมพูสลักตัวทอง เป็นอักษรจีนแปลความว่า สุสานฉลองพระองค์ และพระมาลาของพระเจ้าตากสินแห่งกรุงสยาม สร้างขึ้นในปีที่ 47 แห่งรัชสมัยเฉียนหลง (ค.ศ.1784) บูรณะใหม่เมื่อฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ.1985 “ เจ้าพระยานครน้อย ต่อมาได้เป็น เจ้าพระยานครศรีธรรมราช เป็นเจ้าเมืองลำดับที่ 3 แทนบิดาบุญธรรม นับเป็นเจ้าเมืองที่มีชื่อเสียงโดดเด่นกว่าเจ้าเมืองใดๆ ในสมัยเดียวกัน เพราะเป็นทั้งนักรบ นักปกครอง และเป็นผู้สันทัดในการช่างเป็นอย่างยอดเยี่ยมคล้ายพระราชบิดาสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มีความจงรักภักดีซื่อสัตย์ต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แห่งราชจักรีวงศ์อย่างแน่วแน่มั่นคงถึงสามรัชกาล คือ ตั้งแต่รัชกาลที่ 1-3 สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นระหว่างที่ไทยกับพม่าทำสงครามกับไทรบุรี เริ่มใช้นโยบายอิงมหาอำนาจอังกฤษเพื่อคานอำนาจทั้งไทยและพม่า ทำให้ไทยต้องคิดหาทางดึงอำนาจกลับมา เพราะมิฉะนั้นไทรบุรีก็จะไปเข้าข้างอังกฤษบ้าง พม่าบ้างซึ่งไม่เป็นผลดีแก่ไทย จนเมื่อ เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) มีอำนาจในเมืองนครศรีธรรมราชได้ยกกองทัพไปปราบเมืองไทรบุรีอยู่หลายครั้ง จึงได้ไทรบุรีมาอยู่ในอำนาจของอาณาจักรสยาม เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) เป็นนักการทูตคนสำคัญของประเทศ ระหว่างไทยกับอังกฤษในสมัยรัชกาลที่ 2 – 3 ท่านมีความเฉลียวฉลาด มีปฏิภาณไหวพริบในการเจรจาความเมือง ทำให้เมืองนครศรีธรรมราชมี อิทธิพลต่อหัวเมืองมาลายูและเป็นที่นับถือยำเกรง และยังมีความเชี่ยวชาญในการต่อเรือเรือกำปั่นหลวงสำหรับบรรทุกช้างไปขายต่างประเทศ ทำให้ประเทศชาติมีรายได้มาก และที่สำคัญคือได้ต่อเรือรบขนาดย่อมไปจนถึงขนาดใหญ่ที่ต้องใช้กรรเชียง 2 ชั้น เรือรบที่ต่อมีขนาดใหญ่กว่าที่เคยปรากฏมาก่อน มีการต่อเรือรบและเรือลาดตระเวนที่เมืองตรังและเมืองสตูล และได้ต่อเรือรบเป็นอันมากถึง 150 ลำ ท่านมีกองทัพเรือขนาดใหญ่อยู่ที่เมืองตรัง ประกอบด้วยขบวนเรือทั้งหมดประมาณ 300 ลำ ซึ่งเป็นกองทัพเรือที่มีขนาดใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในพระราชอาณาจักร ในบั้นปลายเจ้าจอมมารดาปรางก็อยู่อย่างมีเกียรติจนตลอดอายุขัย ณ เมืองนครศรีธรรมราชแห่งนี้ และ เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) มีลูกหลานเป็น เจ้าพระยานครศรีธรรมราช ต่อมาอีกหลายคน เหตุการณ์กุศโลบายลับระหว่าง สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กับ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ในการเปลี่ยนแผ่นดินให้หนี้สินกับจีนหมดลงครั้งนั้น เป็นความลับมานานกว่า 200 ปี เมื่อถึงเวลาก็ควรเปิดเผยเทอดพระเกียรติ เพราะแท้จริงแล้วพระองค์ไม่ได้ถูกสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทร์ แต่ทรงได้รับการดูแลอารักขาให้เดินทางไปผนวชที่นครศรีธรรมราช ที่มีพระราชโอรสของพระองค์อยู่ที่นั่น ในครั้งนั้นจึงนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ของทั้ง 2 พระองค์ ที่มิได้เคยสนพระทัยเลยว่าจะต้องเสื่อมเสียพระเกียรติยศเพียงใด ทรงหวังแต่เพียงจะให้ชาติไทยของเราดำรงความเป็นเอกราช ไม่ต้องเป็นเมืองขึ้นของใคร และให้พวกเราลูกหลานไทย อยู่กันอย่างมีความสงบสุขเท่านั้น ทั้งสองพระองค์ทรงสละทุกสิ่งทุกอย่างแม้กระทั่งเลือดเนื้อ และพระเกียรติยศชื่อเสียง เพื่อทรงหวังเพียงให้ชาติไทยดำรงความเป็นไทย และให้เหล่าลูกหลานไทยได้อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุขบนผืนแผ่นดินขวานทองนี้ ดังนั้นคนไทยทุกคนพึงได้ระลึกถึงและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ของทั้งสองพระองค์ จงอย่าได้คิดหรือกล่าววาจาใดที่ไม่สมควร อันจะเป็นการปรามาสลบหลู่เบื้องสูงต่อทั้งสองพระองค์ไปตลอดกาล ** เนื้อหาในตอนนี้ในอยู่ในหนังสือรวมเล่ม แฉ ความลับ ตอน 3 เปิดผนึกบันทึกสยาม บทที่ 6 พร้อมภาพที่ท่านอาจไม่เคยเห็นมาก่อน เรียบร้อยแล้ว สามารถโหลดผ่าน ebook หรือเป็นเล่มจริงแบบ Print on demand ได้เลย ส่วนเล่มจริงจะส่งให้ผู้อยู่ฐานข้อมูลเดิมและผู้จองใหม่ได้วันที่ 25 ก.ย.58 นี้ ดูสารบัญคลิ๊กไปที่ https://t.co/KxhM77h8oO @ เสธ น้ำเงิน3 ** หนังสือรวมเล่ม แฉ ความลับ มันส์ๆ ทุกตอน ติดตามได้ที่ร้านหนังสือ B2S ทุกสาขา , ต้องการส่งถึงบ้านคลิ๊กไปที่ http://www.lazada.co.th/books-online/rakchart-department “กติกา" คอมเม็นท์โปรดงดคำหยาบ , ป่วน , ภาพ สามารถติดตามข่าว สอบถามรวมเล่มหนังสือ แฉ ความลับ คลิ๊กไปที่ https://www.facebook.com/topsecretthaibook</a>

ไขปริศนา..เปิดผนึกบันทึกสยามพระเจ้าตากสินไปไหนเมื่อต้นราชวงค์จักรี</p><p> ** เนื้อหาในตอนนี้ในอยู่ในหนังสือรวมเล่ม แฉ ความลับ ตอน 3 เปิดผนึกบันทึกสยาม บทที่ 6 พร้อมภาพที่ท่านอาจไม่เคยเห็นมาก่อน เรียบร้อยแล้ว สามารถโหลดผ่าน ebook หรือเป็นเล่มจริงแบบ Print on demand ได้เลย  ส่วนเล่มจริงจะส่งให้ผู้อยู่ฐานข้อมูลเดิมและผู้จองใหม่ได้วันที่ 25 ก.ย.58 นี้ ดูสารบัญคลิ๊กไปที่ <a href="https://lm.facebook.com/l.php?u=https%3A%2F%2Ft.co%2FKxhM77h8oO%3Ffbclid%3DIwAR2Hg2xakKc67NznaiFs5KhcyvJRQkyo19_T5yHq5_i87d9xGDsNfC14JAg&h=AT2DVpvF52iprd8tVguc2Ij2aZUKik7zVoaiVxAcKQRN98RZJjgkuvyh-t4L0RwbNOhxaIsj_U9WWiR3ERo1LIhX-PcsZwzB_jrsE_cG9NFq8wm_b1UDBdrpPCe-SEotsgivs0cQR_nBal-V5XiLp-Fiek9DADRLOw1ZQVA" target="_blank" rel="noopener" data-sigil="MLynx_asynclazy">https://t.co/KxhM77h8oO</a></p><p> ราว พ.ศ.2318 ในครั้งนั้นมีข้าราชการที่สำคัญคือ อุปราชพัฒน์ มีฐานะเป็นหม่อมเจ้าในกรมหมื่นอินทรพิทักษ์ รัชกาลที่ 33 แห่งกรุงศรีอยุธยา เคยตามที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชออกทำสงคราม จนมีชัยชนะได้รับความชอบหลายครั้งเป็นที่โปรดปรานของสมเด็จพระเจ้าตากสินอย่างยิ่ง เมื่อคราภรรยา อุปราชพัฒน์ ถึงแก่อนิจกรรมนั้น</p><p> สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงทราบว่าเจ้าอุปราชพัฒน์เป็นม่าย เกิดความสงสาร จึงพระราชทานพระสนมเอกปรางที่เป็นน้องสาวภริยาของ อุปราชพัฒน์ให้เป็นภริยาแทน พระองค์รับสั่งท้าวนางข้างในให้พาตัวพระสนมเอกปรางไปพระราชทานเจ้าอุปราชพัฒน์ ท้าวนางกระซิบทูลว่าดูเหมือนนางนั้นมีครรภ์อ่อน ๆ สองเดือนอยู่ </p><p> พระเจ้ากรุงธนบุรีตรัสว่า “ได้ออกปากให้เขาแล้วก็พาไปเถิด” เนื่องจากกษัตริย์ตรัสแล้วไม่คืนคำ เรื่องจึงเลยตามเลย อุปราชพัฒน์ จึงทราบและคนทั้งหลายทั่วไปก็ทราบ แต่เป็นข้าของพระองค์จะไม่รับพระราชทานก็หาได้ไม่ จึงรับไว้โดยนำไปอยู่อย่างท่านผู้หญิงกิตติมศักดิ์ คือ อัญเชิญให้อยู่ในฐานะแม่เมือง </p><p> วันที่ 27 สิงหาคม 2319 เจ้าจอมมารดาเจ้าหญิงปรางก็ได้ประสูติพระราชโอรส เจ้าพระยานครน้อย ณ เมืองนครศรีธรรมราชนั้น โดยทุกฝ่ายทั้งในและฝรั่งต่างประเทศก็นับรู้ว่าทารกน้อย ของเจ้าจอมมารดาปรางผู้นี้คือ พระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี </p><p> ด้วย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มีบิดาเป็นคนจีน และมารดาชาวสยามนามนกเอี้ยง มิได้ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่มาจากการสืบราชสมบัติจากกษัตริย์กรุงศรีอยุธยาองค์ก่อนจึงมิได้มีเงินในท้องพระคลัง ช่วงกอบกู้เอกราชไทยจากคราวกรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ 2 นั้น พระองค์ต้องใช้ทรัพย์จำนวนมากเกินกำลังที่มีอยู่</p><p> เพราะทรัพย์ของชาวสยามจำนวนมากพม่าปล้นสดมภ์ไปจนสิ้นจึงทรงกู้ยืมเงินมาจากทางจีน เพื่อใช้ในการกอบกู้เอกราชประกาศอิสรภาพจากพม่า และช่วงนั้นจีนกับพม่าทำศึกต่อกันอย่างหนัก หากไทยชนะศึกพม่าได้ จีนก็จะได้เปรียบในศึกระหว่างอาณาจักรนั้นด้วย</p><p> เมื่อทรงปราบดาภิเษกขึ้นครองราชย์เป็น สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระองค์ทรงเห็นว่าสยาม เพิ่งจะประกาศอิสรภาพจากพม่าได้ไม่นาน บ้านเมืองก็ยังไม่สงบเรียบร้อย ยังมีสงครามติดพันกับพม่าอยู่ จำเป็นต้องใช้ทรัพย์อีกมาก เงินในท้องพระคลังเองก็เหลืออยู่ไม่มาก ทั้งทหารหาญของพระองค์เอง ก็ยังมิได้รับเบี้ยหวัดเงินเดือนเลย </p><p> หากพระองค์ไม่ใช้หนี้ทางจีน ก็อาจจะอ้างเอาเป็นสาเหตุยกทัพมาตีไทยจนกลายเป็นศึก 2 ด้าน หากพ่ายแพ้ก็จะตกเมืองขึ้นได้ แต่หากพระองค์ทรงสละราชบัลลังก์ธรรมดา แล้วให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ขึ้นครองราชย์แทนทางจีนก็คงจะไม่ยอมเลิกราอยู่ดี แต่ถ้าหากพระองค์สิ้นพระชนม์ </p><p> และ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ขึ้นครองราชย์แทน จะถือว่าเป็นการเปลี่ยนพระเจ้าแผ่นดินใหม่ ดังนั้นหนี้สินที่เกิดขึ้นจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ก็ไม่จำเป็นต้องรับผิดชอบชดใช้ สยามเราก็สามารถนำเงินในท้องพระคลังที่มีอยู่จำกัดไปใช้ประโยชน์เพื่อกอบกู้บ้านเมืองได้ </p><p> อีกทั้งไม่ต้องเผชิญหน้ากับกองทัพจากจีน แม้ว่าจะต้องแลกกับความเสื่อมเสียพระเกียรติยศ และความเข้าใจผิดของลูกหลานไทยในภายหลังนานกว่า 200 ปีก็ตาม ในครานั้น สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงจึงมีกุศโลบายการลับเปลี่ยนแผ่นดินให้หนี้สินหมดลง กับ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก </p><p> ซึ่งสอง พระองค์เป็นพระสหายคู่พระทัยกัน โดย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จะทรงแผนแกล้งพระสติวิปลาส เพราะเครียดจากการสู้รบ และเคร่งครัดในธรรม จากนั้นจะสละราชบัลลังก์ และให้ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ขึ้นครองราชย์แทน และย้ายเมืองหลวงข้ามไปยังฝั่งกรุงเทพฯ ให้ดูแนบเนียน</p><p> พ.ศ. 2324 ในช่วงนั้นบ้านเมืองยังไม่สงบนิ่ง ขุนนางบางคนคิดก่อการกบฏขึ้น ระหว่างการปราบปรามจลาจลที่เมืองเสียมราฐในเขมร สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (ทองด้วง) และ เจ้าพระยาสุรสีห์ (บุญมา) ทราบข่าวความไม่ปกติในกรุงธนบุรี จึงให้ พระยาสุริยอภัย ผู้เป็นหลานมาคอยฟังเหตุการณ์อยู่ที่เมืองนครราชสีมา</p><p> ขุนแก้ว (น้องพระยาสรรค์) นายบุนนาค นายบ้านในเขตกรุงเก่า และขุนสุระ ทั้งสามได้คิดก่อการปฏิวัติขึ้นโดยรวบรวมกำลังพลจำนวนหนึ่งไปปล้น พระยาอินทรอภัย ผู้รักษากรุงเก่าฝ่ายเจ้าเมืองอยุธยา แต่หนีรอดมาได้เข้ากราบบังคบทูลต่อ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระองค์จึงบัญชาให้ พระยาสรรค์ ไปสืบสวนเอาตัวคนผิดมาลงโทษ </p><p> โดยพระองค์แสร้งไม่ทรงทราบว่าหัวหน้ากบฏที่ก่อความวุ่นวาย คือ ขุนแก้ว น้องชายของพระยาสรรค์นั่นเอง ดังนั้น พระยาสรรค์ จึงแปรพักตร์อาศัยจังหวะไปเข้ากับพวกกบฎ กลายเป็นแม่ทัพยกมาตีกรุงธนบุรี</p><p> วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2325 ทัพพระยาสรรค์ ได้เข้าล้อมกำแพงพระนครกรุงธนบุรี รบกับกองทัพซึ่งรักษาเมืองเกิดจลาจลขึ้นในกรุงธนบุรีทั้งคืน ครั้นรุ่งเช้า สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี บัญชาให้หยุดรบ แล้วพระองค์ไปนิมนต์พระสังฆราชพระวันรัต และพระรัตนมุนีเข้ามาแล้วให้ออกไปเจรจาความเมืองกับพระยาสรรค์ว่าทรงยอมแพ้ </p><p> พระยาสรรค์ บังคับให้สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีพระองค์ผนวช ทรงยอมในวันรุ่งขึ้น ณ พระอุโบสถวัดแจ้ง ภายในพระราชวัง พระยาสรรค์จึงจัดพลทหารให้ไปตั้งล้อมพระอุโบสถวัดแจ้งไว้แน่นหนา เพื่อมิให้พระเจ้าแผ่นดินซึ่งบรรพชานั้นหนีไปได้ แล้วให้จับขุนอนุรักษ์สงคราม พระเจ้าหลานเธอ และวงศานุวงศ์ทั้งปวง มาจำไว้ในพระราชวังทั้งสิ้น </p><p> แล้ว พระยาสรรค์ ก็ตั้งตนเป็นผู้สำเร็จราชการ พร้อมกับประกาศอ้างว่าจะถวายราชสมบัติให้ สมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึกปกครอง แต่แท้จริงนั้นเพื่อลดการต่อต้านจากขุนนางฝ่ายตรงข้าม จากนั้น พระยาสรรค์ ออกท้องพระโรงว่าราชการแผ่นดินให้ปล่อยนักโทษทั้งข้าราชการฝ่ายหน้า ฝ่ายใน และราษฎร ซึ่งอยู่ในเรือนจำนั้นออกจนสิ้น </p><p> พวกนักโทษที่ออกมาก็ล้างแค้นพวกโจทก์เที่ยวไล่จับฆ่าฟันเสียเป็นอันมาก พวกโจทก์หนีไปเที่ยวซุ่มซ่อนอยู่ ณ วัดบ้าง บ้านบ้าง ทุกแห่งทุกตำบล ที่รอดเหลืออยู่นั้นน้อยที่ตายนั้นมาก เกิดฆ่าฟันจราจลบ้านป่าเมืองเถื่อนกันไปทุกแห่งทุกตำบลทั่วทั้งเมือง</p><p> พระยาสรรค์ เอาเงินตราในท้องพระคลังออกซื้อเสียงแจกขุนนางข้าราชการทั้งฝ่ายหน้าฝ่ายใน และทหารเป็นอันมาก จนในขณะนั้นบรรดาขุนนางข้าราชการผู้ใหญ่ผู้น้อยทั้งปวงแตกออกเป็นสองพวก ที่ได้บำเหน็จรางวัลก็เข้าเป็นพวกพระยาสรรค์ ที่นับถือบุญญาบารมีสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ก็มิได้รับรางวัลของพระยาสรรค์ </p><p> เมื่อเหตุการณ์ในราชวังควบคุมซื้อเสียงข้างมากได้แล้ว พระยาสรรค์ จึงคิดจะครองราชย์สมบัติออกว่าราชการตั้งตนเป็นพระเจ้าแผ่นดินองค์ใหม่ เตรียมกองกำลังไว้ต่อสู้กับสมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึก </p><p> มีคนขึ้นไปแจ้งเหตุ พระยาสุริยอภัย ผู้ครองเมืองนครราชสีมา ผู้เป็นหลานได้ทราบว่าแผ่นดินธนบุรีเป็นจลาจล จึงเร่งเดินทางไปเมืองนครเสียมเรียบ กัมพูชา รายงานว่าแผ่นดินเกิดยุคเข็ญ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก จึงให้พระยาสุริยอภัย รีบยกกองทัพลงไปกรุงธนบุรีก่อน แล้วจะยกทัพใหญ่ตามลงไปช่วยภายหลัง </p><p> พระยาสุริยอภัย รับคำสั่งแล้วจึงยกทัพจากเมืองนครราชสีมาเพื่อปราบกบฎ ดังนั้น พระยาสรรค์ ได้ปล่อยตัวกรมขุนอนุรักษ์สงคราม มาช่วยกันรบป้องกันพระนคร โดยเข้าโจมตีกองทัพ พระยาสุริยอภัย </p><p> วันที่ 2-3 เมษายน พ.ศ. 2325 ทั้งสองฝ่ายได้ปะทะกันอย่างหนัก กรมขุนอนุรักษ์สงคราม เป็นฝ่ายพ่ายแพ้และถูกจับได้ พระยาสรรค์ ทำใจดีสู้เสือคิดว่าเรื่องที่ตนสั่งให้ กรมขุนอนุรักษ์สงคราม ยกทัพไปตีค่ายพระยาสุริยอภัย เป็นความลับจึงวางตัวนิ่งเฉยอยู่ในวัง ทำเป็นไม่รู้ไม่ชี้ </p><p> แต่ พระยาสุริยอภัย รู้ความจริงทั้งหมดเพราะ กรมขุนอนุรักษ์สงคราม รับสารภาพ เมื่อควบคุมสถานการณ์ในวังหลวงเอาไว้ได้แล้วให้สึก สมเด็จพระเจ้าตากสิน รอให้ สมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึก กลับมาตัดสินความ </p><p> วันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ก็ยกทัพกลับมาถึงกรุงธนบุรี พระองค์เรียกประชุมขุนนางและข้าราชการชั้นผู้ใหญ่สืบสวนเรื่องราวความวุ่นวายสงครามกลางเมืองที่เกิดขึ้น จับกุมผู้ก่อการกบฎมาลงโทษ รวมทั้งให้ข้าราชการปรึกษาพิจารณาความที่มีผู้ฟ้องร้องกล่าวโทษ</p><p> ว่า สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงเป็นต้นเหตุ พร้อมกับสอบถามความเห็นเพื่อวางแผนฟื้นฟูบ้านเมือง พวกขุนนางฝ่าย พระยาสรรค์ ที่รับสินบนทูลฟ้องใส่ร้ายอ้างว่า สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงพระสติวิปลาสไปเพราะทรงสั่งให้ลงทัณฑ์พระ ที่ประชุมขุนนางเห็นความว่าควรจะสำเร็จโทษพระเจ้าตากสินเสีย เพื่อไม่ให้เป็นภัยต่อความมั่นคงของแผ่นดินต่อไป </p><p> แต่ในความจริงแล้วเรื่องทั้งหมดเป็นไปตามแผนการที่ทั้งสองพระองค์ได้วางไว้ เพราะ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี นำนักโทษที่มาโกนหัวแล้วมาห่มผ้าเหลืองมิใช่พระสงฆ์จริงๆ และก่อนที่จะลงทัณฑ์ก็ได้ให้เอาผ้าเหลืองออกก่อน จึงมิได้เป็นการปรามาสพระรัตนตรัย </p><p> โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างข่าวลือการเสียพระสติของพระองค์ออกไป เป็นกลลวงให้กลุ่มกบฏ พระยาสรรค์ ผู้ต้องการโค่นล้มพระองค์จากพระราชอำนาจเกิดความย่ามใจ และสำคัญผิด </p><p> วันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 ขุนนาง ข้าราชการ และราษฎรได้พร้อมใจกันทูลเชิญ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ขณะมีพระชนมายุได้ 46 พรรษา ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชย์เป็น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์จักรีรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ </p><p> วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2325 ในเบื้องลึกในครั้งนั้น สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มิได้ถูก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สั่งประหารชีวิตด้วยท่อนจันท์จริงตามที่เคยทราบกัน แต่ผู้ที่ถูกจับใส่กระสอบคือ พระญาติทหารชื่อนายมั่น ที่มีความศรัทธาจงรักภักดีใน สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช </p><p> และมีลักษณะละม้ายคล้ายพระองค์ ยอมปลอมตัวสละชีพแทน และถูกทุบด้วยท่อนจันทร์ เพื่อให้เป็นไปตามแผนการที่ได้วางไว้ตบตาจีนเพื่อเปลี่ยนกษัตริย์ หลังจากนั้นพระยาสรรค์ ฝ่ายกบฏก็ถูกลงโทษประหารชีวิต </p><p> พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 1 ทรงทราบเรื่อง เจ้าพระยานครน้อย พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กับเจ้าจอมมารดาปราง ที่บัดนี้เจริญวัย 6 พรรษา และจึงเห็นว่าเมืองนครศรีธรรมราชเหมาะสมและปลอดภัยที่สุดสำหรับพระองค์ จึงได้จัดเตรียมกองทหารคอยเฝ้าอารักขาติดตามส่งเสด็จ </p><p> สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ลงเรือสำเภาไปจนถึงนครศรีธรรมราชอย่างปลอดภัยโดยมิให้ผู้ใดล่วงรู้ พร้อมกับแต่งตั้งให้ อุปราชพัฒน์ ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็น เจ้าเมืองนครศรีธรรมราช (พัฒน์) เพื่อคอยปกปักรักษา สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และปกป้อง พระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี</p><p> พระองค์ทรงผนวชเงียบๆ เป็นพระภิกษุสงฆ์ที่วัดเขาขุนพนม จังหวัดนครศรีธรรมราช และได้มรณภาพที่นี่ในราวปี พ.ศ. 2368 พระองค์ยังมีสุสานอยู่อีกแห่งอยู่ที่เมืองซัวเถา อำเภอเท่งไฮ้ ประเทศจีน</p><p> สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เคยเสด็จไปถวายบังคมเมื่อ พ.ศ.2540 และ ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ในหนังสือเรื่อง “คืนถิ่นจีนใหญ่” จึงขอพระราชทานพระราชนิพนธ์ถึงสุสานตอนหนึ่งว่า “สุสาน เหมือนกับหลุมศพฝรั่งธรรมดาไม่ได้ทำโค้งๆ แบบฮองซุ้ยจีนที่เคยเห็นที่อื่น มีป้ายหินแกรนิตสีชมพูสลักตัวทอง</p><p> เป็นอักษรจีนแปลความว่า สุสานฉลองพระองค์ และพระมาลาของพระเจ้าตากสินแห่งกรุงสยาม สร้างขึ้นในปีที่ 47 แห่งรัชสมัยเฉียนหลง (ค.ศ.1784) บูรณะใหม่เมื่อฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ.1985 “</p><p> เจ้าพระยานครน้อย ต่อมาได้เป็น เจ้าพระยานครศรีธรรมราช เป็นเจ้าเมืองลำดับที่ 3 แทนบิดาบุญธรรม นับเป็นเจ้าเมืองที่มีชื่อเสียงโดดเด่นกว่าเจ้าเมืองใดๆ ในสมัยเดียวกัน เพราะเป็นทั้งนักรบ นักปกครอง และเป็นผู้สันทัดในการช่างเป็นอย่างยอดเยี่ยมคล้ายพระราชบิดาสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช </p><p> มีความจงรักภักดีซื่อสัตย์ต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แห่งราชจักรีวงศ์อย่างแน่วแน่มั่นคงถึงสามรัชกาล คือ ตั้งแต่รัชกาลที่ 1-3 สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นระหว่างที่ไทยกับพม่าทำสงครามกับไทรบุรี เริ่มใช้นโยบายอิงมหาอำนาจอังกฤษเพื่อคานอำนาจทั้งไทยและพม่า ทำให้ไทยต้องคิดหาทางดึงอำนาจกลับมา</p><p> เพราะมิฉะนั้นไทรบุรีก็จะไปเข้าข้างอังกฤษบ้าง พม่าบ้างซึ่งไม่เป็นผลดีแก่ไทย จนเมื่อ เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) มีอำนาจในเมืองนครศรีธรรมราชได้ยกกองทัพไปปราบเมืองไทรบุรีอยู่หลายครั้ง จึงได้ไทรบุรีมาอยู่ในอำนาจของอาณาจักรสยาม</p><p> เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) เป็นนักการทูตคนสำคัญของประเทศ ระหว่างไทยกับอังกฤษในสมัยรัชกาลที่ 2 – 3 ท่านมีความเฉลียวฉลาด มีปฏิภาณไหวพริบในการเจรจาความเมือง ทำให้เมืองนครศรีธรรมราชมี อิทธิพลต่อหัวเมืองมาลายูและเป็นที่นับถือยำเกรง</p><p> และยังมีความเชี่ยวชาญในการต่อเรือเรือกำปั่นหลวงสำหรับบรรทุกช้างไปขายต่างประเทศ ทำให้ประเทศชาติมีรายได้มาก และที่สำคัญคือได้ต่อเรือรบขนาดย่อมไปจนถึงขนาดใหญ่ที่ต้องใช้กรรเชียง 2 ชั้น เรือรบที่ต่อมีขนาดใหญ่กว่าที่เคยปรากฏมาก่อน มีการต่อเรือรบและเรือลาดตระเวนที่เมืองตรังและเมืองสตูล และได้ต่อเรือรบเป็นอันมากถึง 150 ลำ </p><p> ท่านมีกองทัพเรือขนาดใหญ่อยู่ที่เมืองตรัง ประกอบด้วยขบวนเรือทั้งหมดประมาณ 300 ลำ ซึ่งเป็นกองทัพเรือที่มีขนาดใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในพระราชอาณาจักร ในบั้นปลายเจ้าจอมมารดาปรางก็อยู่อย่างมีเกียรติจนตลอดอายุขัย ณ เมืองนครศรีธรรมราชแห่งนี้ และ เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) มีลูกหลานเป็น เจ้าพระยานครศรีธรรมราช ต่อมาอีกหลายคน </p><p> เหตุการณ์กุศโลบายลับระหว่าง สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กับ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ในการเปลี่ยนแผ่นดินให้หนี้สินกับจีนหมดลงครั้งนั้น เป็นความลับมานานกว่า 200 ปี เมื่อถึงเวลาก็ควรเปิดเผยเทอดพระเกียรติ เพราะแท้จริงแล้วพระองค์ไม่ได้ถูกสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทร์ </p><p> แต่ทรงได้รับการดูแลอารักขาให้เดินทางไปผนวชที่นครศรีธรรมราช ที่มีพระราชโอรสของพระองค์อยู่ที่นั่น ในครั้งนั้นจึงนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ของทั้ง 2 พระองค์ ที่มิได้เคยสนพระทัยเลยว่าจะต้องเสื่อมเสียพระเกียรติยศเพียงใด ทรงหวังแต่เพียงจะให้ชาติไทยของเราดำรงความเป็นเอกราช </p><p> ไม่ต้องเป็นเมืองขึ้นของใคร และให้พวกเราลูกหลานไทย อยู่กันอย่างมีความสงบสุขเท่านั้น ทั้งสองพระองค์ทรงสละทุกสิ่งทุกอย่างแม้กระทั่งเลือดเนื้อ และพระเกียรติยศชื่อเสียง เพื่อทรงหวังเพียงให้ชาติไทยดำรงความเป็นไทย และให้เหล่าลูกหลานไทยได้อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุขบนผืนแผ่นดินขวานทองนี้ </p><p> ดังนั้นคนไทยทุกคนพึงได้ระลึกถึงและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ของทั้งสองพระองค์ จงอย่าได้คิดหรือกล่าววาจาใดที่ไม่สมควร อันจะเป็นการปรามาสลบหลู่เบื้องสูงต่อทั้งสองพระองค์ไปตลอดกาล</p><p>

** เนื้อหาในตอนนี้ในอยู่ในหนังสือรวมเล่ม แฉ ความลับ ตอน 3 เปิดผนึกบันทึกสยาม บทที่ 6 พร้อมภาพที่ท่านอาจไม่เคยเห็นมาก่อน เรียบร้อยแล้ว สามารถโหลดผ่าน ebook หรือเป็นเล่มจริงแบบ Print on demand ได้เลย ส่วนเล่มจริงจะส่งให้ผู้อยู่ฐานข้อมูลเดิมและผู้จองใหม่ได้วันที่ 25 ก.ย.58 นี้ ดูสารบัญคลิ๊กไปที่ <a href="https://lm.facebook.com/l.php?u=https%3A%2F%2Ft.co%2FKxhM77h8oO%3Ffbclid%3DIwAR3_vklKbXZiisxT_gGxNtAvxHPY1yLwIbwwr6ptChFQpL8H9d0Im7a9quY&h=AT2jy8fYCSgEdwy9vvleQh6pDWdK_FlP5xkra_rcwtuK3uKrhgEutMlbvbSW2gCw2kT6x-7slVHojW0MAWD0uV36NWfc-xLagiST4Z4LC8Dm6X1yXfB8DeU4PUHxPc2XW2QFSB5oGCQPWVeyeMmvUxmq0AEHfchC-4HuntY" target="_blank" rel="noopener" data-sigil="MLynx_asynclazy">https://t.co/KxhM77h8oO</a></p><p> @ เสธ น้ำเงิน3<br> ** หนังสือรวมเล่ม แฉ ความลับ มันส์ๆ ทุกตอน ติดตามได้ที่ร้านหนังสือ B2S ทุกสาขา , ต้องการส่งถึงบ้านคลิ๊กไปที่ <a href="https://lm.facebook.com/l.php?u=http%3A%2F%2Fwww.lazada.co.th%2Fbooks-online%2Frakchart-department%3Ffbclid%3DIwAR066E9-dVTbT9PJPAPi3cKzMxnh9Pv4xuPHN8tXdU1aIb6GDbF9sDpWoac&h=AT1I36aBZfKke_svj8iIBOmxA_ZFm4wXOPa2j4AZ9MrTK8u1hFSZAqDThz7DvZiDY5p3exlhzT0knRTN_NPVfg_Uzbw1viVI0Jdhh440qO7FFtFvkCAY29acf3T23uec0pQsHWLySTjChq6w9nWBINoWJXjuW-Hz54sfC3I" target="_blank" rel="noopener" data-sigil="MLynx_asynclazy">http://www.lazada.co.th/books-online/rakchart-department</a> </p><p> “กติกา" คอมเม็นท์โปรดงดคำหยาบ , ป่วน , ภาพ สามารถติดตามข่าว สอบถามรวมเล่มหนังสือ แฉ ความลับ คลิ๊กไปที่ <a href="https://m.facebook.com/topsecretthaibook/?__tn__=%2As-R">https://www.facebook.com/

 

***
ประวัติศาสตร์  บุคคลสำคัญ 

แก้ไขล่าสุดเมื่อ ( เสาร์, 08 กุมภาพันธ์ 2020 )
 
< ก่อนหน้า   ถัดไป >

สมุดภาพเหมืองแร่

Counter

mod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_counter
mod_vvisit_counterวันนี้695
mod_vvisit_counterเมื่อวาน2264
mod_vvisit_counterทั้งหมด10734915