Skip to content

Phuketdata

default color
Home arrow News arrow Latest arrow พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่
พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ PDF พิมพ์ อีเมล์
เขียนโดย ปาณิศรา ชูผล มทศ.   
จันทร์, 10 ธันวาคม 2007

(มห.ภูเก็จ 2316) 

พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ กะทู้ 

 ผศ.สมหมาย ปิ่นพุทธศิลป์

พฤศจิกายน ๒๕๔๙

 

อรุณรัตน์ สรรเพ็ชร นักวิชาการศึกษา ทม.กะทู้ ได้บันทึกรูปภาพใน พมร. ไว้ประกอบ เช่น

อังมอเหลา โป้ท้อง พ้อท้อง อาเขด หง่อก่ากี่ หุ่นนายประชา ตัณฑวณิช รางเหมืองแร่ เหมืองอุโมงค์ เหมืองรู เหมืองแล่น หนังตะลุง จุ้ยปีด ร้านขนมจีน โกปีเตี๊ยม โรงงิ้ว อ๊าม ศาลเจ้า ชุดงิ้ว เรือกอจ๊าน (๘ สิงหาคม ๒๕๕๒)

 

ฯลฯ 

. www.kathutin.com  สองภาษา อังกฤษ กับ ไทย  ตรา  เหมืองแร่           

ปรัชญา ภูมิปัญญามีไว้สร้างสรรค์โลกให้เป็นสุข           

วิสัยทัศน์ รวมหลากหลายความคิด แต่อยู่ร่วมกันได้อย่างสร้างสรรค์และเป็นสุข

แผนยุทธศาสตร์  ฅนเข้าหา เพิ่มปัญญา ร่วมกันคิด ผลิตสร้างสรรค์ แบ่งปันกันใช้  ได้ความสุข สนุกกับการปฏิบัติงาน

ฯลฯ

 

พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ กะทู้

(+สวนนก)

มุ่ง Go Inter 

ผศ.สมหมาย ปิ่นพุทธศิลป์ : เสนอเมื่อพฤศจิกายน ๒๕๔๙ 

 

 

.โครงสร้างการบริหาร           

. เริ่มต้นวันนี้ บริหารทั่วไป(ผอ.+ภารโรง)                         ผอ.พธ.                        -โยธาธิการ ( +คนสวน)           

. ระยะที่ ๒  พอมีคนมาช่วย           

. ระยะเต็มยศในอุดมคติ. ทำหน้าที่มัคคุเทศก์(เป็ด) สอน(ลึกลงกว่ามัคคุเทศก์) และวิจัย 

 

. เป็นพิพิธภัณฑ์ เหมืองแร่ ดีบุก และจดหมายเหตุเหมืองแร่ดีบุก(การเก็บลงทะเบียนเอกสาร รูปภาพ)

 

. www.kathutin.com  สองภาษา อังกฤษ กับ ไทย

(ดำเนินการได้ ๒ ปี สิ้นเงินส่วนตัวไปสองแสนบาท ไม่มีผู้ใดให้ยิม จึงปิด kathutin.com  นายไพบูลย์ อุปัติศฤงศ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต ทราบเรื่อง จึงให้ใช้ http://www.phuketdata.net  ยังไม่ทันสั่งการ ท่านได้ใบเหลืองเป็นรางวัล  นายปิยพร ทองมาก จึงขอเงิน ๕,๐๐๐ บาท ฟื้นชีพไว้เป็นการชั่วคราว รอประหารชีวิต จนกว่าจะมีผู้ใจบุญมาโปรด นี่คือเส้นทางงานวิชาการบริการ)           

ตรา      :    รางเหมืองแร่ 

ปรัชญา : ภูมิปัญญามีไว้สร้างสรรค์โลกให้เป็นสุข           

วิสัยทัศน์ : รวมหลากหลายความคิด แต่อยู่ร่วมกันได้อย่างสร้างสรรค์และเป็นสุข                       

แผนยุทธศาสตร์ : ฅนเข้าหา เพิ่มปัญญา ร่วมกันคิด ผลิตสร้างสรรค์ แบ่งปันกันใช้     ได้ความสุข สนุกกับการปฏิบัติงาน           

ปฏิทินการดำเนินงาน                       

ระยะสั้น                       

ระยะกลาง                       

ระยะยาว ๕ ปี ๑๐ ปี ๒๐ ปี  เช่น ต้นไม้ พืชสวน สมุนไพร 

 

. ปรับแผนแม่บท เดิมเป็น Dead Museum ให้เป็น พธ.ที่มีชีวิต           

.๑ ข้อมูลเบื้องต้น นักวิชาการท้องถิ่น+นักปฏิบัติการเหมือง           

.๒ จ้างบริษัทจัดทำแผนแม่บท           

.๓ แบ่งส่วนจัดจ้างเป็นระยะตามแผน

 

. คำภาษาถิ่นเหมืองแร่, แผนที่ ๒๕๐ ปี, ชื่อนายเหมือง, ประวัตินายเหมือง, เอกสารเหมืองแร่,   รูปภาพเหมืองแร่

 

. ครุภัณฑ์ที่จำเป็นต้องมี           

.๑ เครื่องคอมพิวเตอร์ ๓ เครื่อง  พิมพ์เตรียมงาน ป้อนข้อมูล และบริการ           

.๒ โทรศัพท์ความเร็วสูง ๑ เครื่อง           

.๓ โทรศัพท์ประจำพิพิธภัณฑ์  ไว้โฆษณา ใส่นามบัตร ส่งข้อความออก โทร.ออก Fax           

.๔ ตู้เย็น - น้ำเย็น รับแขก VIP           

.๕ เครื่องครัว หม้อหุงต้ม กาต้มน้ำร้อน มีด ถ้วยชา แก้วน้ำดื่ม จานรอง กระดาษ

 

. สร้างรถไฟฟ้า นั่ง ๒ คน ๔ คน และรถพ่วง ๒๐ คน

. ห้องส้วมมาตรฐาน

๑๐. เส้นทางเดินของผู้พิการ

๑๑. ห้องละหมาด  ห้องน้ำห้องส้วม ที่ล้างหน้าล้างเท้า

๑๒. นักเรียนผ่านเข้าไปแล้ว อยากกลับเข้าไปอีก

๑๓. ผู้ชมได้ความคิดสร้างสรรค์  กระตุ้นให้คิดสร้าง

๑๔. ออกแบบของที่ระลึก ให้มีชิ้นส่วนเหมืองแร่ประกอบ ดีบุกผสม

๑๕. บริเวณน้ำตก เล่นน้ำได้  ต่อจากน้ำตกเป็นรางเหมือง ร่อนแร่ได้

๑๖. เหมืองแร่ทุกรูปแบบขนาดเท่าของจริง  แต่สร้างไว้เป็นระยะ  ระยะที่มีเดิมปฏิบัติการได้  ฅน ก่อสร้างคือส่วนหนึ่งของการทำเหมืองแร่ในพิพิธภัณฑ์

๑๗. ส่วนนิทรรศการ เริ่มด้วยปัญหา

โจทย์ -----> การแก้ไขที่ต้องอาศัยภูมิปัญญา  

โจทย์   แร่อยู่ใต้ดิน ----------> ขุดหลุมไปถึงแหล่งลานแร่ 

(ธรรมชาติ ความรู้)--> (ภูมิปัญญาในการสร้างเครื่องมือ)           

 

โจทย์   แร่ดีบุกปนอยู่ในดินหินแร่--------------> ภูมิปัญญาในการแยกส่วนแร่ ดิน หิน ทราย           

 

โจทย์   โลหะผสมดีบุก---------------> แยกส่วนออกทางฟิสิกส์ เคมี           

 

โจทย์  

-ของเล็กดูไม่เห็น                       

-ของใหญ่ดูไม่ถนัด ดูไม่รอบ ดูไม่ทั่ว                       

-เคลื่อนที่เร็ว ดูไม่ทัน                       

-เคลื่อนที่ช้า ใช้เวลานาน

 

๑๘. ดีบุกสำคัญระดับโลก 

ข้อมูลทุกภาคส่วนสนับสนุน-------------------นำดีบุกไปใช้ทำอะไร  สรรพสิ่งที่ทำจากดีบุก ของจริง สังกะสี กระป๋อง เนื่องจากดีบุก มีความแข็งแรงต่ำไม่สามารถนำมาใช้ทำเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อใช้งานโดยตรงได้ การใช้ ประโยชน์ของดีบุก จึงมักอยู่ในรูปของการนำไปเคลือบหรือผสมกับโลหะอื่น ประโยชน์ของดีบุก ที่เรารู้จักกันดีที่สุด ได้แก่ การนำมาเคลือบแผ่นเหล็ก หรือที่เรียกกันว่า เหล็กวิลาส (tinplate) ซึ่งนำ มาใช้ในการทำภาชนะบรรจุอาหารและเครื่องดื่ม เนื่องจากดีบุกเป็นโลหะที่ทนต่อการกัดกร่อนได้ดี และไม่เป็นพิษต่อมนุษย์ ดีบุกยังเป็นส่วนผสมของโลหะผสม (alloy) หลายชนิด เช่น สำริด (bronze) ซึ่งได้จากทองแดงผสมกับดีบุก โลหะผสมระหว่างดีบุก พลวง และทองแดง ใช้ทำ เป็นลูกปืน สำหรับเครื่องจักรกลหลายชนิด ดีบุกเมื่อนำมาผสมกับตะกั่วในสัดส่วนต่าง ๆ จะได้ โลหะผสม ที่มีจุดหลอมตัวต่ำได้ตามต้องการ สำหรับนำไปใช้ในงานบัดกรีโลหะ  ส่วนสารประกอบ ของดีบุก เช่น ทินออกไซด์ (SnO2) ใช้ผสมในเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิก เพื่อให้ เคลือบมีความ ทึบแสง ซิงค์สแตนเนท (Zinc stannate) ใช้เป็นตัวเติมเพื่อช่วยลดความสามารถ ในการติดไฟ (flammability) ของพลาสติก สารประกอบอินทรีย์ของดีบุกใช้เป็นตัวทำให้พลาสติก PVC อยู่ตัว เหมาะกับการใช้เป็นหีบห่อ หรือวัสดุก่อสร้าง สารประกอบดีบุกบางชนิด สามารถใช้ เป็นสาร ปกป้องแมลงกัดกินไม้ได้อีกด้วย(http://www.material.chula.ac.th/Radio45/August/radio8-2.htm) คำ "สำริด" เขียนอีกอย่างหนึ่งก็ได้ว่า "สัมฤทธิ์"(มีรากจากภาษาสันสกฤต ตรงกับภาษาบาลีว่า สมิทฺธิ แปลเหมือนกันว่าความสำเร็จ) เป็นศัพท์เฉพาะทางโบราณคดี หมายถึงโลหะผสมที่มี ทองแดงและดีบุกเป็นองค์ประกอบหลักในอัตราส่วนที่ทองแดง มีปริมาณมากกว่าดีบุกหลายเท่า เอกสารวิชาการบอกว่า ต้องใช้ความร้อนสูงราว 1,200 องศาเซลเซียส หลอมแร่ทั้งสองชนิดเข้าด้วย กัน กลายเป็นสำริด ภาษาอังกฤษเรียก Bronze(http://www.matichonbook.com/newsdetail.php?gd=44780)---------------------------- 

 

๑๙. กิจกรรมผู้ดูผู้ชม           

- ขับเครื่องมือกล(ขนาดเล็ก) ตักดินหินแร่ ลำเลียงไปเข้ากระบวนการแยกแร่ดินหินทราย                       

- นั่งควบคุม รีโมทคอนโทรล ให้เครื่องมือกลขนาดเล็กไปปฏิบัติงาน                       

- ขับรถรุน ดัน ตัก ยก หนีบ คีบ เจาะ เอาดินหินแร่           

- ฉีดน้ำพังทลายหน้าดิน           

- การร่อนแร่ด้วยเลียง

 

๒๐. อาคารร้านค้าแบบจีน โกปี๊เตี๊ยม  ขายที่ชงกาแฟ  ถ้วยกาแฟที่ระลึก  ถั่วเหลืองผง เต้าหู้ ขนมสด ขนมแห้ง

 

๒๑. จดหมายเหตุที่เกี่ยวกับดีบุก

 

๒๒. ความเจริญ ความมั่งคั่ง(เศรษฐกิจ)

การต่างประเทศ(โปรตุเกส ฮอลันดา ฝรั่งเศส อังกฤษ                              

ที่มีผลจากการมีดีบุก           

ฅนเข้าเหมือง -------> สืบสกุลเป็นคนเมืองบาบ๋ามีประเพณีวิถีวัฒนธรรม ความเชื่อ ภาษา                         สถาปัตยกรรม จิตรกรรม ประณีตศิลป์ คหศิลป์ ประติมากรรม หัตถกรรม            ผู้ฅน สายสกุลชื่อแซ่ และผลงาน            ความหลากหลายของฅนเหมือง  

 

๒๓. ผู้เกี่ยวข้องต้องรับรู้จิตวิทยาการเรียนรู้ของฅน  และช่วยสร้างให้ฅนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตามวิธีการวิจัย

 

๒๔. ผู้เกี่ยวข้องควรมีโลกทัศน์เพิ่มเติม ให้มีจิตเชิงบริการ เห็นผู้อื่นแสวงหาความรู้แล้วมี             มุทิตาจิตตาม

 

๒๕. ผู้เกี่ยวข้องกับพิพิธภัณฑ์โดยตรง  ให้มีความรู้เกี่ยวกับการวิจัย  สามารถจัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น             เพื่อการวิจัยได้อย่างสมบูรณ์ คือมีข้อมูล ส่วนการอ้างอิงหรือเชิงอรรถ และการสืบค้น             (นามานุกรม บรรณานุกรม)

 

๒๖. พิพิธภัณฑ์เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่ฅนตั้งแต่ระดับอนุบาล ประถม มัธยม อุดมศึกษา นักวิชาการ             และนักวิจัยต้องพึ่งพา เข้ามาหา เข้ามาสืบค้น เข้ามาสนทนา(สร้างให้เป็นยุทธการดึงฅนเข้า            สัมผัสพิพิธภัณฑ์เหมือง แล้วได้ปัญญากลับไปสร้างสรรค์งานใหม่ แล้วกลับเข้าไป             พิพิธภัณฑ์ เสมือนหนึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสมอง)

 

๒๗. สถานที่อ้างอิง : พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์  พิพิธภัณฑ์เมืองนครศรีธรรมราช                                             พิพิธภัณฑ์คติชนวิทยา     หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยพายัพ 

 

๒๘. ข้อความขยายข้อ ๑๗ 

คำถามเป็นเครื่องมือเสริมปัญญา๑ คำถาม ก็สร้างปัญญาได้ก่อนจากไป ทิ้งคำถามไว้สักข้อนะ ข้อเดียวเท่านั้นก็ฉลาดแล้ว(กิจกรรม ใช้ไวท์บอร์ด กระดาษ คำพูดบอกจด บันทึกลงคอมพิวเตอร์ บันึกเสียงลงคอมพิวเตอร์) 

สมองที่มีปัญญา(ภูมิปัญญา) แสดงได้ด้วย คำถาม ข้อสงสัย อยากรู้ อยากเห็น ฉงน ปริศนา ปัญหา ข้อความที่มี?สมองมีปัญญา(ภูมิปัญญา) ดูได้จาก ผลงาน(บทความ ผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต) คำพูด คำตอบ การโต้ตอบ   คำคม วาทศิลป์ การค้นพบ ข้อสรุป การตอบปัญหา อย่างมีปัญญาของโสกราตีส ใช้กระบวนคำถามเป็นเครื่องมือผู้ถามจะได้คำตอบด้วยตนเอง  เพียงถาม สมองก็ได้รับอาหารฉลาดแล้ว ยิ่งค้นหาคำตอบได้ ยิ่งฉลาดล้ำลึก(โสกราตีส(กรีก) เป็นอาจารย์ของเพลโต(กรีก) เพลโต้เป็นอาจารย์ของอเล็กทรานเดอร์มหาราช(โรมัน)) 

คำถาม : พิพิธภัณฑ์มีเครื่องมือขยายสิ่งเล็กให้ดูขนาดใหญ่ไหม ?

ปัญหา : ดูสะเก็ด(ผลึก)ดีบุกด้วยตาเปล่าไม่เห็นคำถาม ทำอย่างไร จึงจะดูผลึกดีบุกได้ด้วยตาเปล่า ได้หรือไม่ได้ หรือต้องใช้เครื่องมือกระบวนการ

ตอบ : ใช้เครื่องมือ แว่นขยาย กล้องจุลทรรศน์ Comp.ขยาย 

 

ปัญหา : ไม่รู้จักสะเก็ด(ผลึก)ดีบุก

ปัญหา : เลือกผลึกดีบุกได้ถูกไหมคำถาม : ใช้กระบวนใดตรวจสอบ? การฟิสิกส์ เคมี จึงจะดี ประหยัด 

ปัญหา : ดีบุก เอาไปประโยชน์อะไรได้บ้างสร้างของที่ระลึกด้วยดีบุกช่างทองช่วยคิดได้ไหมแหวนดีบุก ใช้ความร้อนหลอมในเบ้าหัวแหวนดีบุก ใช้ความร้อนหลอมในเบ้า           

ปัญหา : เบ้าหลอมต้องทนร้อนได้สูง                        ใช้แทนทาลั่มเป็นเบ้า?                        ใช้เหล็กเป็นเบ้าหัวแหวนดีบุกที่มีมุมสะท้อนแสง  แก้ด้วยการเจียระไนเหรียญพระดีบุกเจ้าแม่กวนอิมดีบุกเหรียญดีบุกตั๋วเหรียญดีบุก  เป็นแผ่นบาง บางกว่าเหรียญบาท ขนาดเท่าเหรียญบาทถ้าใช้เหรียญบาทเจาะรู ปิดรูด้วยดีบุก  ใช้เครื่องมือเจาะเท่ารูตาปูขนาด ๑ นิ้ว มีแท่งอัดดีบุกปิดรู เก็บไว้เป็นของที่ระลึก

เหรียญเจาะรูอัดทอง เจาะรูอัดเงิน เจาะรูอัดดีบุก

เหรียญดีบุกผสมแทนทาลั่มตั๋วแผ่นดีบุกเป็นเชี้ยมเชี้ยมดีบุกเป็นตั๋วและเป็นของที่ระลึก  สัญลักษณ์แห่งความร่ำรวย  KATHUTIN PHUKET MUSEUM อีกด้านไว้สลักชื่อ (จ่ายค่าบริการ ๕ บาท)เชี้ยมสังกะสีเป็นตั๋วและเป็นของที่ระลึก  สัญลักษณ์แห่งความร่ำรวย  KATHUTIN PHUKET MUSEUM อีกด้านไว้สลักชื่อ (จ่ายค่าบริการ ๕ บาท)

เชี้ยมอาจมี อักษรจีน ใช้เหล็กประกบกระแทกเป็นอักษรตั๋วกระดาษติดแผ่นดีบุกเปลวแผ่นดีบุกเปลวสร้างของที่ระลึกด้วยโลหะผสมดีบุก  สร้างของที่ระลึกด้วยส่วนผสมดีบุก สร้างของที่ระลึกมีดีบุกเป็นส่วนประกอบ หรือใช้ดีบุกเสริมแต่ง            ทองแดง            นาก            สัมฤทธิ์           

ปัญหา : ผสมกับโลหะอะไรได้บ้าง  คงทนขนาดไหน  โลหะนั้นมีในเศษวัสดุเหลือใช้ ทิ้งเป็นเศษขยะหรือเปล่า เช่น ตะปู สังกะสี แผ่นทองคำเปลว ทำแผ่นดีบุกเปลวไว้ใช้ประโยชน์ได้อย่างไร เอาไปใช้ประโยชน์อะไร 

ดีบุกมีอยู่ที่ไหน?

จะเอาดีบุกมาได้อย่างไร?

ตรวจสอบความบริสุทธิ์กันอย่างไรมีแร่อื่นผสมปนกัน แยกออกมาได้อย่างไร 

ขี้แร่ ใช้ทำประโยชน์อะไร            อัดทำแท่ง ไว้ทับกระดาษกันปลิว ด้านล่างติดแผ่นผ้ากันกระทบกระจก                                (ผ้าที่ใช้รองนำมากธงที่ประดับในเทศกาลกินผักได้ไหม เพราะอะไร                 ทอขึ้นเองจากใยชก ใยมะพร้าว ได้ไหม เพราะอะไร)            ติดต่อขอซื้อ            ให้คนร่อนขี้แร่ขาย            จัดกิจกรรมผลิตภัณฑ์ขี้แร่           

ขี้แร่เป็นอโลหะ? จุดหลอมเหลวสร้างถาดด้วยขี้แร่ได้ไหม  (ขี้เหล็ก เป็นอาหาร)            ถ้วยชา  รับแขกด้วยถ้วยชาขี้แร่            ถ้วยชาถวายเทพจีน            จานรองขี้แร่ ขี้ตะกรัน ใช้เป็นของที่ระลึก           

ตรวจสอบได้อย่างไรว่ามีแทนทาลั่ม           

จัดกิจกรรมวิธีตรวจสอบ กระดุมดีบุกเครื่องประดับดีบุกถ้วยชุดน้ำชาดีบุกผลิตภัณฑ์ประณีตศิลป์           

กิจกรรม เป็นโรงงานขนาดตั้งโต๊ะ            แกะสลักดีบุก            เจียระไนดีบุก            มัณฑณศิลป์ดีบุก ดินเหนียวในเหมือง            เครื่องปั้นดินเผา            เซรามิค            ผลิตภัณฑ์ พลังงานจากธรรมชาติที่ใช้ในเหมือง อดีต และอนาคตแสงแดด            โซลาเซล            การตากลม            กังหันลม                        แปรเป็นพลังงานกล                                    หมุนมอเตอร์ผลิตไฟฟ้า                                    เก็บไฟฟ้าลงแบตเตอรี่                        แปรเป็นพลังงานไฟฟ้า                                    ใช้งานโดยตรง                                    เก็บลงแบตเตอรี่           

ทิศทางลม ใช้ประโยชน์ในการอธิบายการสร้างอาคาร           

ทิศทางฝน ใช้ประโยชน์ในการวางสิ่งของเครื่องใช้ 

น้ำ           

กักเก็บน้ำเป็นเขื่อน เป็นขุมน้ำบริโภค อุปโภค รดน้ำต้นไม้ ทำความสะอาด ห้องน้ำห้องส้วม            

นิทรรศการน้ำ            น้ำตก            พลังกล หมุนกังหัน ผลิตไฟฟ้าขยะ            เผาเป็นความร้อนอบแห้งอาหาร            เป็นความร้อนต้มน้ำ อุ่นน้ำ            สบู่ ทำความสะอาดภาชนะ และพื้นอาคาร  และสกัดไปใช้สำหรับร่างกายสัตว์และฅน            ปุ๋ยพืช            ไม้ฟืน            ถ่าน            ปุ๋ย            อาหารปลวกไปเป็นอาหารนก สร้างพลังงานไปเป็นพลังงานในการใช้งานทุกรูปแบบของกิจการพิพิธภัณฑ์เหมืองแร่            สาธิต ทดลอง            รถไฟฟ้า            หัวรถลากไฟฟ้า            รถถีบไฟฟ้า            พลังงานกล หมุนเครื่องจักรกล การบำบัดน้ำเสีย            ใช้ประโยชน์ทุกขั้นตอนจนสิ้นสุดการใช้จึงบำบัดทั้งภูมิปัญญาชาวบ้าน สารเคมี ฟิสิกส์           

 ปุ๋ย อาหารพืช—————> อาหารปลา ————-> อาหารนก 

 

วิถีชีวิตชาวเหมือง           

จัดตามปรัชญา มอภิปรัชญา ญาณวิทยา และ คุณวิทยา ซ้อนงานวัฒนธรรม ตามสาขาของยูเนสโก                       

 

อภิปรัชญา (เลือกส่วนที่เกี่ยวข้อง)                                               

. สาขามนุษยศาสตร์                                                           

ความเชื่อ                                                                        ผี                                                                       

ข้อห้าม                                                                       

คาถาอาคมเสน่ห์ยาแฝด                                                            ศาสนา                                                                       

พุทธมหายาน                                                                       

พุทธเถรวาท                                                                       

ลัทธิเต๋า                                                                       

ลัทธิขงจื๊อ                                                           

ประวัติศาสตร์                                                                       

ประวัติภูมิสถาน                                                                       

ประวัติเหมือง                                                                       

ประวัติบุคคล                                                                       

ประวัติอั้งยี่                                                           

ขนบธรรมเนียมประเพณี(ลักษณะกิจกรรม พิธีกรรม อาหารใน พิธีกรรม ผลทางสังคม)                                                                       

การบูชาเทพ                                                                       

ศาลพระภูมิ                                                                       

กินผัก                                                                       

ประเพณีประจำปี                                                                        ประเพณี                                               

 

. สาขาภาษาและวรรณกรรม                                                           

ภาษาถิ่นใต้และคำยืมภาษาจีนและต่างชาติ                                                           

ศัพท์เหมืองแร่                                                            ภาษิต                                                                       

คำคม (สำนวนโวหาร)                                                                       

คำสอน                                                                       

คำอธิษฐาน                                                                       

คำอวยพร                                                                       

คำอุทิศ                                                                       

คำสรรเสริญบูชา บทสวด                                                                       

(ทุภาษิต : ด่าสาปแช่งสบถสาบาน)                                                            ปริศนา                                                           

เพลง                                                           

นิทาน                                                           

ตำนาน                                                           

นิยาย(วรรณคดี)                                                           

ลายลักษณ์                                                                        เซียมซี                                                                       

สมุดจีน                                                                       

บ่องป๋าย                                                                       

แผ่นติด                                                                       

ป้ายสถาน                                                                       

แผนที่ แผนผัง                                                                       

ศิลาจารึก                                               

 

. สาขาการช่างฝีมือ                                                            สถาปัตยกรรม                                                            จิตรกรรม                                                           

ประณีตศิลป์                                                            ประติมากรรม                                                           

ปฏิมากรรม                                                           

หัตถกรรม                                                                                                           

 

. สาขากีฬาและนันทนาการ                                                           

คีตศิลป์                                                                       

ดนตรี ขิม ขลุ่ย กลอง ฆ้องจีน                                                                       

 

 การร้องรำทำเพลง                                                           

กีฬา(การละเล่น)ของเด็ก                                                            นันทนาการ                                                                        นาฏศิลป์                                                                        งิ้ว                                                                        ลิเก                                                                       

ยี่เกรำมะนา                                                                       

หนังตะลุง                                                                                               

รำวง                                               

 

. สาขาคหกรรมศิลป์                                                           

การถนอมอาหาร 

อาหาร                                                                       

กับข้าว                                                                                    ผัก                                                                                    เนื้อ                                                                                    แป้ง                                                                                    ทะเล                                                                       

เครื่องดื่ม                                                                        ขนม                                                                                   

ขนมสด                                                                                   

ขนมแห้ง                                                                                   

ของหวาน                                                                               

อาหารในพิธีกรรม                                                                       

กับข้าวในพิธีกรรม                                                                                   

ผักในพิธีกรรม                                                                                   

เนื้อในพิธีกรรม                                                                                   

แป้งในพิธีกรรม                                                                                                                    

ทะเลในพิธีกรรม                                                                       

เครื่องดื่มในพิธีกรรม                                                                       

ขนมในพิธีกรรม                                                                                   

ขนมสดในพิธีกรรม                                                                                   

ขนมแห้งในพิธีกรรม                                                                                   

ของหวานในพิธีกรรม                                                           

าพื้นบ้าน                                                                       

เวชบำบัด                                                                       

กายบำบัด                                                                       

จิตบำบัด                                                           

การเลี้ยงดูเด็ก                                                           

การสืบทอด                                                           

 

อาชีพ (ทั้งวิทยาการและการตลาด)(อาชีพที่เกี่ยวข้องของไชยยุทธ ปิ่นประดับ http://culture.pkru.ac.th/~culture/search/detail.php?id=68019)                                                

. อาชีพคนทำเหมืองแร่ดีบุก ผู้จัดการ (จ้งสูน) รองผู้จัดการ (ยี่กัง)  สมุห์บัญชี (ชิ่นเต้ง)  เสมียนหัวหน้าช่างเครื่อง (เถ่าชิ้ว)  ผู้ช่วยหัวหน้าช่างเครื่อง (ยี่ชิ้ว)  พนักงานดูแลเครื่องยนตร์สูบดิน สูบน้ำ คนงานทั่วไป (จับกัง)หัวหน้ากะหรือนายการปั้น (กังเถา) หัวหน้ากะ (นายการปั้น)  พนักงานดูแลเครื่องยนตร์สูบดิบ  พนักงานดูแลเครื่องยนต์สูบน้ำ  คนงานดูแลปากท่อดูดดิน  คนงานฉีดน้ำ  คนงานคุ้ยดินร่องน้ำ  คนงานดูแลหัวสูบ  คนงานเก็บเศษไม้  คนงานดูแลบนรางหิน  คนงานดูแลหัวราง (เถาจั่ม)  คนงานดูแลฉีดน้ำบนราง (ยี่จั่ม) 

. อาชีพขายน้ำชา-กาแฟ มีไว้บริการแก่ผู้ที่เดินทางสัญจรไปมาระหว่างชุมชนเมืองกับชุมชนกึ่งบ้านเมืองกับชุมชนบ้านนอก ยังใช้เป็นสถานที่สนทนา เกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ หรือพบปะสังสรรค์ในยามว่าง

. อาชีพทำขนมแห้งหรือขนมสด ทั้งแบบจีนหรือแบบพื้นเมือง ผู้ขายจะนำไปฝากตามร้านขายน้ำชากาแฟ และนำออกเร่ขายตามบ้านทั่วไปหรือขายส่งไปยังสถานที่สั่งทำ

. อาชีพขายของชำเบ็ดเตล็ด ได้แก่ ข้าวสาร น้ำตาล น้ำมัน และของแห้ง ตลอดจนเครื่องบริโภคอื่น ๆ ด้วย

. อาชีพขายอาหารสด ได้แก่ เนื้อหมู เป็ด ไก่ กุ้ง ปู ปลา เป็นต้น

. อาชีพขายประเภทพืชผักสด ผักดองของแห้ง และอื่น ๆ ซึ่งเป็นอาหารหลักอีกประเภทหนึ่งที่ทุกคนจำเป็น ต้องใช้บริโภค ทั้งขายปลีกและขายส่งไปยังชุมชนหรือตามเหมืองแร่ที่ได้ดำเนินการอยู่

. อาชีพขายประเภทเครื่องนุ่งห่ม เสื้อผ้าอาภรณ์ ซึ่งใช้เป็นเครื่องอุปโภคประเภทต่าง ๆ

. อาชีพขายเครื่องประดับ เครื่องสำอางค์ แต่ละยุคแต่ละสมัยนิยม

. อาชีพตัดแต่งผมและเสริมสวย ตัดเย็บเสื้อผ้า

๑๐. อาชีพขายเสื้อผ้าสำเร็จรูป

๑๑. อาชีพขายรถจักรยาน จักรยานยนตร์และอะไหล่

๑๒. อาชีพบริการรับซ่อมมอเตอร์ไฟฟ้า ไดนาโม และเครื่องแยกแร่ดีบุกด้วยไฟฟ้า

๑๓. อาชีพขายเหล้า บุหรี่ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

๑๔. อาชีพในภัตตาคารและร้านอาหาร มีทั้งประเภทชั้นหนึ่ง และประเภททั่ว ๆ ไปตลอดจนแผงลอย และหาบเร่

๑๕. อาชีพขายของป่า ได้แก่จาก หวาย ไม้ไผ่ ไม้ต่าง ๆ ด้ามมีด ด้ามจอบ ด้ามขวาน ฯลฯ ซึ่งเป็นทรัพยากร ธรรมชาติ ทั้งยังเป็นภูมิปัญญาจากชาวบ้านที่ได้จัดทำขึ้นมาเพื่อไว้จำหน่ายปลีกและส่งไปตามชุมชนเมือง หรือเหมืองแร่ ที่มีการทำ เหมืองแร่ ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องใช้ในการปลูกสร้างอาศัยต้องใช้วัสดุจากธรรมชาติในชนบท(ไชยยุทธ์ ปิ่นประดับ http://culture.pkru.ac.th/~culture/search/detail.php?id=68019)                           

 

ญาณวิทยา                                   

ภูมิปัญญาในการกระบวนการถ่ายทอดสรรพความรู้และวิถีชีวิต(คัดเลือกสาขา วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง  มีเนื้อหา(ปรากฏการณ์) แนวคิดในการสืบทอด)                        

 

คุณวิทยา                                   

จริยศาสตร์ (คัดเลือกสาขาวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง)                                   

สุนทรียศาสตร (คัดเลือกสาขาวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง)                                   

ตรรกศาสตร (คัดเลือกสาขาวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง)           

 

 

TOR ส่งเมื่อ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ 

. ประวัติ ผศ.สมหมาย ปิ่นพุทธศิลป์  http://culture.pkru.ac.th/~culture/search/detail.php?id=10358 

. แนวคิดที่จะจัดกิจกรรมในพิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ กะทู้ ที่ยังฟุ้ง กระจัดกระจาย ยังไม่ได้จัดหมวดหมู่ ใน File แนบ หรือ  http://culture.pkru.ac.th/~culture/search/detail.php?id=74526 

. บุคลากร 

.๑ เลขานุการของ ผศ.สมหมาย ปิ่นพุทธศิลป์ คุณสมบัติ พูด เขียนภาษาอังกฤษได้ (ไว้ GO Inter) และวิเทศสัมพันธ์  (ทำงานเต็มเวลา) 

.๒ ผู้ดูแลระบบไอที  โสตทัศนูปกรณ์ และที่เกี่ยวข้อง  จัดกิจกรรม www.kathutin.com      - ดูแลโครงสร้าง ระบบเครือข่าย ควบคุมการใช้งานทางด้านไอที เครื่องคอมพิวเตอร์และส่วนที่เกี่ยวข้อง(สแกน พริ้นเทอร์....) แสง เสียง ไฟฟ้า  (ทำงานpart time)     

.๓ พนักงานธุรการ  สืบค้น รับข้อมูลพิมพ์ พิมพ์งาน เตรียมข้อมูล(ทั้ง Text ภาพและเสียง) บันทึกลงอินเทอร์เน็ต (ทำงานเต็มเวลา) 

.๓ อาจารย์มนัส ชิณการณ์ 0-9727-4737 ขณะนี้เป็นหัวหน้าภาควิชาช่างกลหนัก วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต ผมติดต่อไว้ช่วยงานโลหะวิทยา สร้างรถไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และสร้างกิจกรรมปฏิบัติการ ทางวิทยาศาสตร์ กิจกรรมหุ่นยนต์ เทคโนโลยีไอที  (ทำงานPart time) 

.๔ นักจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของเยาวชน ดูแลเยาวชน จัดค่ายเยาวชน จัดการทัศนศึกษาในภูเก็ตทั้งสายวิทยาศาสตร์และสายวัฒนธรรม ดูแลนักท่องเที่ยวชาวไทย (และช่วย มัคคุเทศก์) ประวัติและผลงานนักประดิษฐ์ ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร ของเยาวชนในโครงการหรือสมาชิก (ระยะแรกทำงาน Part time  ระยะต่อไปต้องทำงาน Full time) 

.๕ นักวิชาการวัฒนธรรม ดูแลงานอภิปรัชญา ญาณวิทยาและคุณวิทยา และจัดกิจกรรมวิถีชีวิตชาวเหมือง ในส่วนในทู ขยายพื้นที่ครอบคลุมเกาะภูเก็ต ฝั่งอันดามัน และจังหวัดที่มีเหมือง เปรียบเทียบกิจการเหมือง ในต่างประเทศ (ทำงานเต็มเวลา) 

.๖ นายไชยยุทธ ปิ่นประดับ ครูภูมิปัญญาท้องถิ่น พัฒนาการเหมืองแร่ วิถีชีวิตชาวเหมือง คำยืมภาษาจีนฮกเกี้ยน แผนที่เหมืองแร่ ตระกูล 108 นายหัวเหมือง  (ทำงานเต็มเวลา) 

.๗ นักประชาสัมพันธ์ รับผิดชอบการจัดทำสื่อเอกสาร สื่อไอที สื่อกิจกรรม สื่อสัญลักษณ์ เผยแพร่และผลย้อนกลับ (ทำงานเต็มเวลา) 

.๘ มัคคุเทศก์ (ภาษาอังกฤษ) ดูแลแผนการตลาด นักท่องเที่ยวต่างชาติ (และช่วยดูแลนักท่องเที่ยวชาวไทย ร่วมกับนักจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ข้อ ๓.) บัตรเข้าชม ของที่ระลึก ร้านจำหน่ายของที่ระลึก การคมนาคม-ขนส่ง  (ระยะแรกทำงาน Part time) ต่อไปทำงานเต็มเวลา 

.๙ บรรณารักษ์ ดูแล จัดระบบ จัดเก็บและเสนองานเอกสารลายลักษณ์ คลังจดหมายเหตุ คลังภาพ คลังแผนที่ คลังเสียง เพื่อการวิจัย ทั้งชาวไทยและต่างชาติ  (ทำงานเต็มเวลา) 

.๑๐ นักวิจัย รับผิดชอบในการสืบค้น อ้างอิง สำรวจ ตรวจสอบ สรุปงานวิจัย จัดกิจกรรมพัฒนานักวิจัย เสวนา สัมมนา อบรม และประเมินผล (ระยะแรกทำงานPart time) 

.๑๑ ภัณฑารักษ์ รับผิดชอบสรรพวัตถุที่เกี่ยวกับการเหมืองแร่ จัดทำบัญชีเดินทุ่ง ลงทะเบียน จัดคลังสรรพวัตถุ ประสานงานในกระบวนการรับสรรพวัตถุ ประวัติสรรพวัตถุ ประวัติผู้ครอบครอง ประวัติผู้มอบ ประกาศเกียรติคุณผู้มอบและเจ้าของเดิม (ทำงานเต็มเวลา) 

.๑๒ ภูมิสถาปัตยกรรม  รับผิดชอบภูมิทัศน์ บำรุงต้นไม้ สวนป่า(ผสมปนเปกับเหมืองประเภทต่าง ๆ ) สวนสนุก ความหลากหลายทางชีวภาพพืช คาดการณ์ความยาวนานของไม้ยืนต้นขนาดใหญ่อย่างน้อย ๕๐ ปี จัดทำแผนแม่บทพืชพันธุ์ไม้  (ทำงานPart time) 

. ครุภัณฑ์ +วัสดุ.๑ ชุดคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการใน www.kathutin.com           

..๑ ค่าจ้างสร้าง www.kathutin.com 50,000.-           

.. Server Co-location  125,000.-           

..๓ ค่าฝาก server เวลา ๒ ปี 60,000.-           

.. DinoLite Digital Microscope+อุปกรณ์นำสัญญาณถ่ายทอด 10,000.-           

..๕ กล้องจุลทรรศน์ 25,000.-           

..๖ เครื่องสแกนภาพ 7,000.-           

..๗ กล้องถ่ายภาพดิจิตอล 17,000.-           

.. Domain Name 20 ชื่อ พร้อม Homepage 100,000.-           

.. Printer Laser           

..๑๐ โต๊ะวางครุภัณฑ์ 5 ตัว           

..๑๑ เก้าอี้ล้อเลื่อนผู้ปฏิบัติงาน 3 ตัว           

..๑๒ ตู้เก็บ SolfWare 2 ตู้           

..๑๓ ตู้ลิ้นชัก ๔ ชั้น เก็บเอกสาร 1 ตู้           

..๑๔ เครื่องคอมพิวเตอร์ 3 เครื่อง 3 x 25,000=75,000.-           

..๑๕ โทรศัพท์ ความเร็วสูง 1,200 บาท X 24 เดือน = 28,800.-           

..๑๖ เครื่องบันทึกเสียงดิจิตอล 10,000.-   (เพิ่มเติมข้อมูลหรือพิมพ์ผิดทำให้งง โปรดโทรถึงคุณกฤษดา โทร. 08 9724 4051)            

.๒ ค่าเช่ารถติดต่อประสานงาน (กลุ่ม และคนเดียว)(ไม่มีรถประจำทาง อยู่ห่างไกลเส้นทางคมนาคม)..๑ ระหว่าง พธ.เหมืองแร่ กับ จุดรอรถถนนสายหลัก วันละ ๒๐๐ บาท จำนวน ๒ ปี= ๑๔๖,๔๐๐ บาท

..๒ ระหว่าง จุดรอรถถนนสายหลัก กับ แหล่งติดต่องาน(แหลมพันวา กมลา ป่าตอง เชิงทะเล ป่าคลอก) วันละ ๒๐๐ บาท จำนวน ๒ ปี= ๑๔๖,๔๐๐ บาท

..๓ ระหว่าง ถนนสายหลักกับจุดย่อยที่ติดต่อในหมู่บ้าน วันละ ๒๐๐ บาท จำนวน ๒ ปี= ๑๔๖,๔๐๐ บาท

และเช่ารถยนต์ ๑ คัน วันละ ๑,๒๐๐ บาท จำนวน ๒ ปี ๘๗๘,๔๐๐ บาท + น้ำมันวันละ ๒๐๐ บาท จำนวน ๒ ปี= ๑๔๖,๔๐๐ บาท 

.๓ วัสดุสำนักงาน เดือนละ ๑๐,๐๐๐.-

.๔ ตู้เย็น

.๕ โต๊ะ+เก้าอี้ บุคลากร ๑๔ ชุด

.๖ เก้าอี้(แขกมาติดต่อ) ๑๔ ตัว

.๗ โทรศัพท์สำนักงาน.๘ โทรสาร 

.๙ เครื่องคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ชุดฝึกปฏิบัติการสำหรับเยาวชนและบุคลากรเครือข่าย ๑๐ เครื่อง พร้อมโต๊ะ+เก้าอี้

.๑๐ Printer 1 เครื่อง 

.๑๑ ค่าจ้างนักการ+แม่บ้าน+ยาม พธ.เหมือง ???? 

.๑๒ ค่าใช้จ่ายการศึกษาดูงาน

.๑๒.๑ ไป พธ.เมืองนคร, พธ.คติชนวิทยา สงขลา, หอจดหมายเหตุตรัง

.๑๒.๒ ไป พธ.วิทยาศาสตร์ คลอง...

.๑๒.๓ ไปปีนัง มะละกา สิงคโปร์

.๑๒.๔ ไป พธ.ที่สหรัฐ 

.๑๓ ค่าใช้จ่ายการสัมมนา ประชุมปฏิบัติการ เสวนา(จัดทำแผนงานหรือเตรียมงานจัดทำแผนแม่บท) กิจกรรมละ ๑ ครั้ง ๑๐,๐๐๐ บาท รวม ๑๐๐,๐๐๐ บาท           

.๑๓.๑ เตรียมจัดทำแผนแม่บทนิทรรศการในอาคาร(ภัณฑารักษ์ มัณฑณกร นักการศึกษา)           

.๑๓.๒ เตรียมจัดทำแผนแม่บทเหมืองแร่กลางแจ้ง (ชาวเหมือง)           

.๑๓.๓ เตรียมจัดทำแผนแม่บทวิถีชีวิตชาวเหมือง (นักวัฒนธรรม สภาวัฒนธรรม นักมานุษยวิทยา)           

.๑๓.๔ จัดทำแผนงานหรือเตรียมจัดทำแผนแม่บทภูมิทัศน์ (นักผังเมือง นักการเกษตร นักการป่าไม้ นักภูมิสถาปัตย์)           

.๑๓.๕ เตรียมจัดทำแผนแม่บทกิจกรรมค่ายเยาวชน (ผอ.สถานศึกษา ตัวแทนนักเรียนนักศึกษา)           

.๑๓.๖ จัดทำแผนงานหรือเตรียมจัดทำแผนแม่บทการตลาด (ผู้เข้าร่วมคือ ผู้จัดการบริษัททัวร์ นักการตลาด มัคคุเทศก์)           

.๑๓.๗ จัดทำแผนงานหรือเตรียมจัดทำแผนแม่บทการวิจัย (ผู้เข้าร่วมคือนักวิจัย นักวัฒนธรรม นักการศึกษา)           

.๑๓.๘ จัดทำแผนงานหรือเตรียมจัดทำแผนแม่บทกิจกรรมนักประดิษฐ์ (ผู้มีประสบการณ์ในโครงงานวิทยาศาสตร์ นักประดิษฐ์ นักพัฒนาหลักสูตร)           

.๑๔.๙ จัดทำแผนงานหรือเตรียมจัดทำแผนแม่บทวิเทศสัมพันธ์ (ผู้เข้าร่วมคือบริษัทนำเที่ยว นักประชาสัมพันธ์ มัคคุเทศก์) 

.๑๕ ผลิตจุลสารบทสรุปเตรียมจัดทำแผนแม่บท ขนาด เอ๔ ขาว-ดำ ปกหนาสีเดียว เล่มละ ๒๕ บาท ๔๐๐ เล่ม ๑๐ เรื่อง ๑๐๐,๐๐๐ บาท

.๑๕ ผลิตจุลสารวิชาการ ขนาด เอ๔ พับครึ่ง ปกสี่สี เดือนละ ๑ รายการ ๑,๐๐๐ เล่ม เล่มละ ๕๐ บาท (๕๐,๐๐๐.-) x ๒๔ เดือน=,๒๐๐,๐๐๐.-

.๑๖ ผลิตแผ่นพับงานประชาสัมพันธ์พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ ฉบับภาษาไทย ๓๐,๐๐๐ แผ่น แผ่นละ ๓๐ บาท = ๙๐๐,๐๐๐ บาท

.๑๗ ผลิตแผ่นพับงานประชาสัมพันธ์พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ ฉบับภาษาอังกฤษ ๑๐,๐๐๐ แผ่น แผ่นละ ๓๐ บาท = ๓๐๐,๐๐๐ บาท 

.๑๘ ผลิตแผ่นพับ ขนาด เอ๔ ประชาสัมพันธ์กิจกรรมค่ายเยาวชนให้สถานศึกษา ๑๐,๐๐๐ แห่ง แผ่นละ ๑๐ บาท แห่งละ ๒ แผ่น ๒๐๐,๐๐๐ บาท

.๑๙ ค่าซอง+แสตมป์ สถานศึกษาละ ๕ บาท ๑๐,๐๐๐ แห่ง = ๕๐,๐๐๐ บาท

 

ฉบับนี้ ได้กลายเป็นต้นแบบในการปฏิบัติงานที่เทศบาลตำบลกะทู้ สมัยนายประเสริฐ ขาวกิจไพศาล อนุญาตให้ใช้ดำเนินการในพิพิธภัณฑ์เหมืองแร่กะทู้  กลางปี พ.ศ.๒๕๕๑  ทต.กะทู้ ได้จัดสร้างป้ายพิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ ปรากฏชื่อ พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ภูเก็ต

         

แก้ไขล่าสุดเมื่อ ( พฤหัสบดี, 22 มีนาคม 2018 )
 
< ก่อนหน้า   ถัดไป >

News

สมุดภาพเหมืองแร่

Counter

mod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_counter
mod_vvisit_counterวันนี้1678
mod_vvisit_counterเมื่อวาน1355
mod_vvisit_counterทั้งหมด10689811