Skip to content

Phuketdata

default color
Home arrow News arrow ถลางภูเก็จภูเก็ต
กะทู้ทุ่งคาภูเก็จ
แผนที่การเดินเรือของคลอดิอุป ปโตเลมี เมื่อ พ.ศ.๗๐๐ ได้ระบุตำแหน่งเกาะภูเก็ต ไว้ในนาม JUNK CEYLON พระภิกษุจีนเรียก SILAN ชาวไทยเรียกว่า สิลัน,  สลาง,  ฉลาง  และ ถลาง  พม่าตีเมืองถลางแตกเมื่อ พ.ศ.๒๓๕๒  เมืองภูเก็จจึงได้เจริญเติบโตเป็นเมืองใหญ่ เป็นชื่อจังหวัดภูเก็ตแบ่งการปกครองเป็น ๓ อำเภอคืออำเภอทุ่งคา(อำเภอเมืองภูเก็ต) อำเภอถลางและอำเภอกะทู้  มีประวัติศาสตร์ที่ชาวไทยรับทราบคือศึกถลาง พ.ศ.๒๓๒๘ เป็นเหตุให้เกิดวีรสตรี ๒ ท่าน คือท้าวเทพกระษัตรีท้าวศรีสุนทร
ค้นหา     การเรียงลำดับ     แสดง # 
วันที่ ชื่อเรื่อง ผู้เขียน ฮิต
อังคาร, 15 มกราคม 2008 ทรัพยากรในภูเก็ต ปาณิศรา ชูผล มทศ. 22061
จันทร์, 28 มกราคม 2008 ไว้อาลัยประชา ตัณฑวณิช ปาณิศรา ชูผล มทศ. 8442
 
<< หน้าแรก < ย้อนกลับ 1 ถัดไป > สุดท้าย >>
ผลลัพธ์ 1 - 2 จาก 2
  • ประวัติศาสตร์ภูเก็จ  ( 19 ข้อมูลรายการ )
    แผนที่การเดินเรือของคลอดิอุป ปโตเลมี เมื่อ พ.ศ.๗๐๐ ได้ระบุตำแหน่งเกาะภูเก็ต ไว้ในนาม JUNK CEYLON พระภิกษุจีนเรียก SILAN ชาวไทยเรียกว่า สิลัน,  สลาง,  ฉลาง  และ ถลาง  พม่าตีเมืองถลางแตกเมื่อ พ.ศ.๒๓๕๒  เมืองภูเก็จจึงได้เจริญเติบโตเป็นเมืองใหญ่ เป็นชื่อจังหวัดภูเก็ตแบ่งการปกครองเป็น ๓ อำเภอคืออำเภอทุ่งคา(อำเภอเมืองภูเก็ต) อำเภอถลางและอำเภอกะทู้  มีประวัติศาสตร์ที่ชาวไทยรับทราบคือศึกถลาง พ.ศ.๒๓๒๘ เป็นเหตุให้เกิดวีรสตรี ๒ ท่าน คือท้าวเทพกระษัตรีท้าวศรีสุนทร
  • ถลางภูเก็จภูเก็ตขายแร่ดีบุก  ( 11 ข้อมูลรายการ )

    โปรตุเกส เป็นชาติแรกที่เข้ามาซื้อแร่ดีบุกบนเกาะถลาง(คือภูเก็ภูเก็จ เป็นเมืองทางตอนใต้ของเกาะถลาง, ฉลาง, สลาง, Silan หรือ Junk Ceylon) รับซื้อแร่ดีบุกตั้งแต่สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒  ฮอลันดาเป็นชาติที่ ๒ ที่เข้ามารับซื้อแร่ดีบุก ทั้งสองประเทศสร้างปัญหาให้ชาวภูเก็จ ในรัชกาลของสมเด็จพระเอกาทศรถ  ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ฝรั่งเศสขอพระราชทานตั้งห้างสินค้ารับซื้อแร่เป็นชาติที่ ๓ ตามมาด้วยอังกฤษ  กัปตันฟรานซิส ไลท์ เป็นพ่อค้าชาวอังกฤษเข้ามาในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จนถึงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ หมายตาจะปกครองเกาะถลาง แต่เล็งเห็นว่าคงสู้กองกำลังของชาวถลางที่นำโดยท้าวเทพระษัตรีท้าวศรีสุนทรในสมัยศึกถลาง พ.ศ.๒๓๒๘ นั้นไม่ได้  จึงได้เข้ายึดเกาะหมาก PENANG ของมลายู แทน กัปตันเอ็ดวาร์ด ที. ไมล์ ของบริษัททุ่งคาฮาเบอร์ บริษัทชาวออสเตรเลียเข้ามาทำเหมืองแร่ดีบุกและสร้างเรือขุดแร่ดีบุกในอ่าวภูเก็ตเป็นครั้งแรกของโลก ในปี พ.ศ.๒๔๕๒  ชาวจีนเข้ามาเป็นกุลีในเหมืองหาบมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ ขยันขันแข็งที่จะสร้างหลักปักฐานไปเป็นนายหัวเหมืองแร่ดีบุก มาถึงช่วงสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๒ แร่ดีบุกก็มีราคาตกต่ำลง  เหมืองแร่ก็ลดลง  การผลิตแร่ดีบุกก็สิ้นสุดตาม  ภูเก็ตจึงเปลี่ยนโฉมหน้าไปเป็นเมืองอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวชั้นนำเมืองหนึ่งของโลก ร่องรอยเหมืองแร่ดีบุกก็กลายเป็นทรัพยากรทางการท่องเที่ยว

News

สมุดภาพเหมืองแร่

Counter

mod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_countermod_vvisit_counter
mod_vvisit_counterวันนี้5628
mod_vvisit_counterเมื่อวาน3893
mod_vvisit_counterทั้งหมด11017462